วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
- รัฐวิสาหกิจที่ต้องเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร
- ฐานหน่วยภาษีของรัฐวิสาหกิจ
- ภาระภาษีของรัฐวิสาหกิจทั้งในฐานะผู้รับเงิน และผู้จ่ายเงิน
- ปัญหาการรับรู้รายได้ และเอกสารรายรับของรัฐวิสาหกิจ ในการตรวจสอบภาษีของสรรพากร
- รายได้จากการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ที่ต้องเสียและไม่เสียภาษีสรรพากร - รายได้อื่นๆ เช่น ดอกเบี้ยเงินฝาก ค่าเช่า การจำหน่ายสินค้า ค่าธรรมเนียม ค่าบำรุง ค่าตอบแทน ค่าบริการ ค่าเช่าพื้นที่ค่าจัดอบรมสัมมนา ค่าเช่าห้องฝึกอบรม/ คอมพิวเตอร์
- ค่าใช้จ่ายของรัฐวิสาหกิจ ข้อควรระวังในการจัดทำรายงาน และเอกสารที่ใช้ประกอบการลงรายจ่ายของรัฐวิสาหกิจ
- แนวการตรวจสอบเกี่ยวกับรายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง - ไม่มีหลักฐานในการจ่ายเงิน - รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจที่สรรพากรยอมรับ
- ภาระภาษีมูลค่าเพิ่มของรัฐวิสาหกิจ
- รายได้ใดที่ต้องเสีย VAT, Non-VAT, ไม่อยู่ในระบบ VAT พิจารณาอย่างไร - VAT 7%, VAT 0% และ ไม่อยู่ในระบบ VAT (Out Of VAT)
- หลักเกณฑ์การออกใบกำกับภาษี, ใบเพิ่มหนี้, ใบลดหนี้ และ e-Tax Invoice & e-Receipt ของกรมสรรพากร
- ไม่ออก, ออกไม่ตรงกับจุดความรับผิด (Tax Point) - ออกโดยไม่มีสิทธิออก - ออกล่าช้า - ออกไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์สรรพากร - การตรวจสอบใบกำกับภาษีซื้อ ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวกับกิจการ, ภาษีซื้อที่เกี่ยวกับค่ารับรอง - การตรวจสอบภาษีซื้อ ภาษีขาย และการเฉลี่ยภาษี - โทษและความรับผิดกรณีเสียและนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ถูกต้อง
- การหักภาษี ณ ที่จ่ายของรัฐวิสาหกิจทั้งในฐานะผู้รับและผู้จ่าย
- อัตรา และวิธีปฏิบัติในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย - รัฐวิสาหกิจควรเข้าระบบ e-Withholding Tax หรือไม่ - วิธีปฏิบัติการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย 2 ระบบ แบบ e-Withholding Tax และแบบกระดาษ
- UPDATE กฎหมายภาษีในระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อรัฐวิสาหกิจ
- e- Payment - ระบบ e-Withholding Tax - ระบบ e-Tax Invoice & e- Receipt - e- Filling
- การจ่ายเงินค่าบริการ ค่าที่ปรึกษาไปต่างประเทศมีภาระต้องนำส่ง ภ.ง.ด.54 และ ภ.พ. 36 อย่างไร
- การตรวจสอบการกระทบยอด และการนำส่งภาษี
- การกระทบยอด ภ.ง.ด.53 กับ ภ.พ.30 - การกระทบยอดรายได้ กับ ภ.พ.30 กับ ภ.พ. 36 - การกระทบยอดรายจ่าย กับ ภ.ง.ด.53, ภ.ง.ด.54
- ภาระภาษีที่เกี่ยวกับพนักงาน, ลูกจ้าง ของรัฐวิสาหกิจ
- การวางแผนภาษี การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี และสิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา - จ่ายเงินให้บุคคลธรรมดา กับนิติบุคคลต่างกันหรือไม่ - เงินเดือน, เงินประจำตำแหน่ง, เงินได้ของผู้บริหาร (Board of Directors) - เงินเพิ่มพิเศษ, ค่าล่วงเวลา - ค่าเบี้ยเลี้ยง, ค่าพาหนะ, ค่าน้ำมัน - มีลูกจ้างเป็นชาวต่างชาติต้องคำนวณภาษีอย่างไร - เลิกจ้าง, เกษียณอายุ - จ่ายค่าเบี้ยประชุมและค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิ - ปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่าย เงินเดือน ค่าจ้าง ของพนักงาน ลูกจ้าง นักศึกษาฝึกงาน
|