บรรยายโดย : ดร.จักรพันธ์ พงษ์เภตรา
หัวข้อสัมมนา
1. หลักการบัญชีด้านสินทรัพย์ตามมาตรฐาน TFRS for NPAEs
- กรอบแนวคิดของสินทรัพย์ตามมาตรฐาน NPAEs
- หลักเกณฑ์ในการรับรู้รายการ
- การวัดมูลค่าสินทรัพย์ประกอบด้วยอะไรบ้าง
2. การบันทึกบัญชีด้านสินทรัพย์ แนวปฏิบัติตามมาตรฐาน TFRS for NPAEs
2.1 บทที่ 6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
- รายการใดไม่ใช่เงินสดมีหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขอย่างไร
- การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
- การแสดงรายการในงบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
2.2 บทที่ 7 ลูกหนี้
- วิธีการประมาณการหนี้สงสัยจะสูญสามารถทำได้กี่วิธี
- การบันทึกบัญชีหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
- การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
2.3 บทที่ 8 สินค้าคงเหลือ
- แนวปฏิบัติในการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ
- ต้นทุนของสินค้าคงเหลือประกอบด้วยอะไรบ้าง
-.การคำนวณต้นทุนสินค้ามีกี่วิธี เลือกอย่างไรให้เหมาะสมกับกิจการ
- การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ
- กิจการจะรับรู้สินค้าคงเหลือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อใด
- การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือในงบการเงิน
2.4 บทที่ 9 เงินลงทุน
- วิธีการจัดประเภทเงินลงทุน
- การวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรกและภายหลังการได้มาของเงินลงทุน
- การลดมูลค่าลงอย่างถาวรของเงินลงทุนมีวิธีการปฏิบัติและบันทึกบัญชีอย่างไร
- การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเงินลงทุน
2.5 บทที่ 10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
- การรับรู้รายการของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
- การวัดมูลค่าเริ่มแรกและภายหลังการรับรู้รายการของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
มีวิธีการปฏิบัติอย่างไร
- ราคาทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ประกอบด้วย
- การวัดมูลค่าราคาทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
- ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
- การบันทึกบัญชีและวิธีการคิดค่าเสื่อมราคา
- สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายได้แก่อะไรบ้าง
- วิธีการตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
- การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินสำหรับที่ดิน อาคาร และอุกรณ์
2.6 บทที่ 11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
- การรับรู้รายการของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
- การวัดมูลค่าเริ่มแรกและภายหลังการรับรู้รายการของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
มีวิธีการปฏิบัติอย่างไร
- หลักเกณฑ์และวิธีการตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
- การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน
2.7 บทที่ 12 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
- การรับรู้รายการของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
- การวัดมูลค่าเริ่มแรกและภายหลังการรับรู้รายการของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
- การโอนเปลี่ยนประเภทของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มีเงื่อนไขและหลักเกณฑ์
ในการปฏิบัติอย่างไร
- การบันทึกบัญชีอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
- การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
3. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|