(ปรับปรุงใหม่ Update ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดคุณสมบัติเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชี)
วิทยากรโดย : อาจารย์ คำนึง สาริสระ
หัวข้อสัมมนา
1. Update ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดคุณสมบัติเงื่อนไข ของการเป็นผู้ทำบัญชี - การทดสอบ เพื่อเป็นผู้ทำบัญชีตามหลักสูตรที่กำหนด - การปรับลดจำนวนชั่วโมงการชดเชยการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องที่ขาดหายไป
2. ข้อควรระวังเมื่อต้องลงชื่อเป็นผู้ทำบัญชี - ความรับผิดตามกฎหมายที่สำคัญมีอะไรบ้าง - ข้อกำหนดที่สำคัญตาม พ.ร.บ.การบัญชี พ.ศ.2543 และบทลงโทษ - ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีคือใคร ต้องรับผิดชอบอะไรบ้าง ตามกฎหมายบัญชี
3. ผู้ทำบัญชีต้องรับผิดชอบอะไรบ้างตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน - แนวคิดการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน สำหรับกิจการ PAEs, และ NPAEs - การจัดทำเอกสารทางบัญชีให้ถูกต้องตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน - แนวคิดที่สำคัญในการจัดทำและนำเสนองบการเงิน ระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน PAEs, และ NPAEs - นัยสำคัญคืออะไร นักบัญชีต้องพิจารณาอย่างไร - กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
4. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน สถานการณ์ปัจจุบัน และทิศทางในอนาคต - TFRS for PAEs - TFRS for NPAEs ปรับปรุงใหม่
5. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - กรณีค่าเสื่อมราคา จะใช้หลักการคิดตามประมวลรัษฎากรได้หรือไม่ - การทบทวนอายุการใช้งาน ต้องทำหรือไม่ เพื่ออะไร - แนวปฏิบัติเมื่อทำการจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - วิธีปฏิบัติเมื่อมีการให้เช่าที่ดินและอาคาร ผู้ให้เช่าทำอย่างไร ให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี - กรณีศึกษาการสร้างอาคารเองบนที่ดินเปล่า และนำเอาพื้นที่บางส่วนออกให้เช่า - หลักปฏิบัติเมื่อสิ้นรอบบัญชีต้องทำอะไรบ้าง - การจัดประเภทใหม่ของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - การตีราคาตามหลักเกณฑ์ใหม่ของ NPAEs บทที่ 10
6. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 เรื่อง สินค้าคงเหลือ - การวางแผนการตรวจนับทำอย่างไร จำเป็นต้องนับเมื่อสิ้นรอบบัญชีหรือไม่ - เมื่อสิ้นรอบบัญชีควรจัดทำอะไรบ้างเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ และทรัพย์สิน - การจัดประเภทของอะไหล่ - สินค้าที่มีสภาพไม่สมบูรณ์ที่พบได้จากการตรวจนับต้องทำอย่างไร - จะใช้ข้อมูลจากการตรวจนับมาปรับการแสดงมูลค่าที่เหมาะสม ของสินค้าและทรัพย์สินต่างๆ ที่สำคัญได้อย่างไร - การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือของ NPAEs บทที่ 8
7. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น - การประมาณการหนี้สินกับหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแตกต่างกันอย่างไร - การตกแต่งตัวเลขทางบัญชีกับการประมาณการหนี้สิน แตกต่างกันอย่างไร - ข้อพึงปฏิบัติที่สำคัญกับการประมาณการหนี้สิน
8. รายได้และค่าใช้จ่ายตามแนวทางของมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน - นักบัญชีจะรับรู้รายได้โดยอ้างอิงจากที่ไหนและเมื่อไหร่ - ใครเป็นผู้เลือกใช้นโยบายการบัญชีและความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชี - หากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีให้ทำอย่างไร และมีผลกับภาษีอากรอย่างไร - หากมีการพบข้อผิดพลาดและทุจริตจะแก้ไขตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินอย่างไร - การทุจริตจัดเป็นข้อผิดพลาดหรือไม่ - นักบัญชีต้องแสดงค่าใช้จ่ายเมื่อไร มีกี่แบบ ตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน
9. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|