วิทยากรโดย อาจารย์สุจิตรา บุญชู และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
หัวข้อสัมมนา
วันพุธที่ 18 ตุลาคม 2567 (อาจารย์สุจิตรา บุญชู)
1.ประเด็นปัญหาและแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับการบริการ ทางด้านการแพทย์กรณีการรักษา -บทบาทหน้าที่ของนายจ้าง และลูกจ้าง ในการส่งเงินสมทบประกันสังคมจะต้องปฏิบัติอย่างไร? และมีบทลงโทษเป็นอย่างไร? หากไม่ส่งเงินสมทบ -กรณีใดบ้าง? เกี่ยวกับการบริการทางการแพทย์รวมถึงค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบําบัด การรักษาโรค ตามประกาศสํานักงานประกันสังคม เช่น โรคเอดส์โรคไต การเปลี่ยนอวัยวะ เป็นต้น -กฎหมายประกันสังคมเกี่ยวกับ “ค่าตรวจและรับฝากครรภ์” -กรณีคลอดบุตร และสงเคราะห์บุตร ผู้ประกันตนสามารถใช้สิทธิของผู้ประกันตนฝ่ายหญิงและ ฝ่ายชายอย่างไร? จึงจะเกิดประโยชน์ -สิทธิประโยชน์ของพนักงานภายหลังจากการสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง จะได้ปฏิบัติตนอย่างไร? -เพื่อให้เกิดสิทธิประโยชน์ต่อเนื่องของประกันสังคม -หลักเกณฑ์และวิธีการขอกลับเป็นผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัติการกลับมาเป็นผู้ประกันตน พ.ศ. 2561 (มาตรา 39 ) -อัตราค่าส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จากกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ที่ไม่ใช่จาก การทำงาน (ตามช่วงอายุ) -หนังสือระบุบุคคลรับสิทธิประโยชน์กรณีไม่มีทายาท หรือไม่มีบุคคลที่ทำหนังสือระบุจะต้อง ดำเนินการอย่างไร? -Case Study การใช้สิทธิประกันสังคมพร้อมวิธีแก้ไขที่ HR ต้องทราบ
วันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม 2567 (วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายแรงงงาน)
2.พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับที่ 8 เพื่อใช้ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ปี 2567 3.สาระสําคัญของกฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง และฝ่ายบุคคลต้องรู้ -สิทธิหน้าที่ของนายจ้าง ตามกฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองแรงงาน -การประกันการทำงาน (Guarantee of employment) ที่ถูกต้องตามกฎหมายใหม่ -กฎหมายคุ้มครองแรงงานหญิง (Female Labour) -ประเด็นเกี่ยวกับการทดลองงาน (Probation) ที่นายจ้างต้องทราบ -ระยะปลอดภัยในการทดลองงาน - กรณีทดลองงานไม่ผ่าน ต้องปฏิบัติอย่างไร? -การกำหนด วัน เวลา ทำงาน (Working Times) มีหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องตามกฎหมายอย่างไร? -จุดบอดที่มักเข้าใจผิด เกี่ยวกับ วันหยุด (Holiday) วันลา (Leave for absence) -ปัญหาที่เกิดขึ้น...จากความไม่รู้ ไม่เข้าใจ ความเคยชิน เกี่ยวกับ ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุดทำให้เกิดการฟ้องร้องคดีแรงงาน -การจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าจ้างขั้นต่ำกรณีต่างๆ (กรณีเป็นลูกจ้างรายวัน ลูกจ้างทดลองงาน) -การแจ้งสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน / การสิ้นสุดการทำงาน (Termination of Employment)
วันศุกร์ที่ 18 คุลาคม 2567 (วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกสัญญาจ้างแรงงาน)
4.หลักเกณฑ์และรายละเอียดสําคัญของการทําสัญญาจ้างแรงงาน -ประเภทของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมีกี่ประเภท -สัญญาจ้างประเภทต่างๆ มีอะไรบ้าง และมีหลักเกณฑ์อย่างไร? ในการพิจารณา -ทำความเข้าใจระหว่างสัญญาจ้างแรงงานและสัญญาจ้างทำของ -สัญญาจ้างแรงงาน การจ้าง Outsource กรณีเหมาค่าแรง ตามมาตรา 11/1 -สัญญาจ้างเหมาช่วงงาน ตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 12 -ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน หรือการสิ้นสุดสัญญาจ้างแรงงานและผลที่ตามมาเป็นอย่างไรบ้าง -สัญญาฝึกอบรมดูงานต่างประเทศ การกำหนดเบี้ยปรับกรณีผิดสัญญา -การโอนโดยกิจการของนายจ้าง ลูกจ้างต้องปฏิบัติตามสภาพการจ้างของนายจ้างใหม่ด้วยหรือไม่ -กรณีลูกจ้างยอมทำงานให้ผู้รับโอนกิจการ ถือว่าผู้รับโอนกิจการเป็นนายจ้างหรือไม่ -การบอกเลิกสัญญากรณีไม่ผ่านทดลองงาน เช่น ระยะเวลาทดลองงานการต่อเวลา ฯลฯ -หนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนเลิกจ้างมีหลักเกณฑ์วิธีการอย่างไร -การตกลงเลิกสัญญา การทำโครงการเกษียณอายุก่อนครบกำหนด มีข้อควรระวัง ด้านกฎหมายอะไรบ้าง -ผลกระทบ...ที่เกิดขึ้นจากสัญญาจ้างกรณีฟ้องร้องในศาลแรงงาน
|