เลิกจ้าง ลดเงินเดือน การเกษียณ, Early Retire ผลกระทบทางภาษีที่นายจ้าง ฝ่ายบัญชีและฝ่ายบุคคลต้องทราบ

รหัสหลักสูตร : 21/01211P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



เลิกจ้าง ลดเงินเดือน การเกษียณ, Early Retire
ผลกระทบทางภาษีที่นายจ้าง ฝ่ายบัญชีและฝ่ายบุคคลต้องทราบ

  หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

เจาะภาระภาษี >>

  • ตัดสิทธิ์ประโยชน์ที่เคยได้ ปรับลดสวัสดิการ คำนวณภาษีอย่างไร

  • เลิกจ้าง ภาระภาษีของลูกจ้าง นายจ้าง

  • ลดเวลาการทำงาน ปรับลดค่าจ้าง

วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย

หัวข้อสัมมนา

1.“เลิกจ้าง” ลดเงินเดือน จ่ายเงินเดือนบางส่วน ตัดสิทธิประโยชน์ที่เคยได้ ปรับลดสวัสดิการ คำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายอย่างไร

- ลดเวลาการทำงาน ปรับลดค่าจ้าง ปรับลดสวัสดิการ

- ให้พนักงานหยุดงานชั่วคราวมีผลทางภาษีอย่างไร

- แจ้งหยุดชั่วคราวต่อมาเลิกจ้าง

2. เลิกจ้าง เกษียณ, Early Retire กับภาระภาษีและการวางแผนของลูกจ้าง นายจ้าง

3. เลิกจ้าง Outsource กับเลิกจ้างพนักงานมีผลทางภาษีต่างกันอย่างไร

4. พนักงานที่โอนย้ายไปยังบริษัทในเครือ เงินที่จ่ายให้ถือเป็นการเลิกจ้างหรือไม่

5. เงินได้เนื่องจากลาออก หรือเลิกจ้าง เกษียณ, Early Retire กรณีใดเป็นเงินได้ที่จ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน

- ลูกจ้างรายวันมีสิทธิหรือไม่

- เงินชดเชย

- เงินชดเชยพิเศษ

- เงินทดแทน

- ค่าบอกกล่าวล่วงหน้า

- เงินบำเหน็จ, บำนาญ

- ค่าตกใจ ฯลฯ

- เงินจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ, กองทุนอื่น

- เงินวันลาพักผ่อนสะสมตามกฎหมายแรงงาน

6. เงินที่นายจ้างจ่ายให้เพราะเหตุออกจากงานจะต้องนำไปคำนวณเพื่อเสียภาษีหรือไม่ อย่างไร

- หักค่าใช้จ่าย 7,000 คูณจำนวนปีที่ทำงาน กับหักค่าให้จ่ายเหมา วิธีและผลการคำนวณต่างกันอย่างไร

- อายุทำงานเกิน 5 ปี กับอายุงานน้อยกว่า 5 ปีมีผลต่างกันอย่างไร

- ทำอย่างไรให้เสียภาษีน้อยที่สุดและถูกต้องตามกฎหมาย

7. “เงินชดเชยการเลิกจ้าง” ทำอย่างไรให้ได้รับยกเว้นภาษี คำนวณภาษีอย่างไร

- UPDATE ยกเว้นค่าจ้างหรือเงินเดือนค่าจ้างของการทำงาน 400 วันสุดท้าย แต่ไม่เกิน 600,000 บาท

- จ่ายให้มากกว่า พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน

- ลาออกมีสิทธิเลือกไม่นำเงินที่ได้ไปคำนวณภาษีกับเงินได้ประเภทอื่นหรือไม่

8. ปัญหาการคำนวณหักภาษี ณ ที่จ่าย เนื่องจากการจ่ายเงินกรณีเลิกจ้าง เกษียณ, Early Retire

- การหักค่าใช้จ่ายกรณีไม่นำเงินที่ได้ไปรวมกับเงินได้อื่น คิดอย่างไร

- ออกปีนี้แต่จ่ายเงินปีหน้าจะคำนวณอย่างไร

- นายจ้างทยอยจ่ายเงินให้หลายงวดจะคำนวณอย่างไร

- เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน

- เงินที่จ่ายจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่จ่ายไม่ทันในปีที่เลิกจ้าง เกษียณ, Early Retire

- ลูกจ้างออกจากงานแต่คงเงินในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพไว้ต้องคำนวณภาษีอย่างไร

- เงินที่จ่ายตามสัญญาประนีประนอมยอมความ

9. ถูกฟ้องร้องต่อศาลเนื่องจากเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม ค่าเสียหายพร้อมดอกเบี้ยที่จ่ายตามคำพิพากษา มีผลทางภาษีและการหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร

- ค่าเสียเวลา

- ค่าชดเชย

- ค่าเสียโอกาส

- ค่าชดใช้ค่าเสียหาย

10. กรณีถูกเลิกจ้างและทำงานในบริษัทใหม่ อย่างไรที่สามารถนับอายุกองทุนสำรองเลี้ยงชีพต่อได้

11. RMF / SSF ของผู้ถูกเลิกจ้าง ตกงานแล้วยังต้องซื้อทุกปีหรือไม่

12.เงินบำเหน็จ, บำนาญชราภาพจากประกันสังคมต้องเสียภาษีหรือไม่

13. การยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษีสิ้นปีของผู้ถูกเลิกจ้าง เกษียณ, Early Retire

- เอกสารที่ใช้ประกอบ

- แบบที่ใช้

- วิธีกรอกใบแนบกรณีได้รับเงินได้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน

 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

โรงแรมดิเอมเมอรัลด์
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ :
02 2764567
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 3 (เดิน 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba