บรรยายโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
หัวข้อสัมมนา
1.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว
2.การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในประเทศไทยมีหลักเกณฑ์อย่างไร?
3. งานประเภทใดบ้าง? ที่กำหนดให้เป็นงานที่คนต่างด้าว“ห้ามทํา”มีหลักเกณฑ์พิจารณาอย่างไร?
4. หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในประเทศจะต้องปฏิบัติอย่างไร?
5.เอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาขอรับใบอนุญาตทำงานของนายจ้างและคนต่างด้าว • แบบ บต.๑ใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ
6. ขั้นตอนในการขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit)เอกสารหลักฐานแบบฟอร์มต่างๆค่าธรรมเนียมและ ใบมอบอำนาจ ทำการแทนที่ปฏิบัติก่อนคนต่างด้าวเข้าหรือเข้ามาในประเทศไทยแล้ว
7.คุณสมบัติของคนต่างด้าวที่จะขอใบอนุญาตทำงานตามหลักเกณฑ์ใหม่
8. อัตราค่าธรรมเนียมที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จะต้องใช้อัตราอย่างไร? • ใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงาน • การต่ออายุใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงาน • การจ้างคนต่างด้าว • การต่ออายุใบอนุญาตทำงานหรือการขยายระยะเวลา
9.การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของนายจ้างและผู้ได้รับใบอนุญาตเข้ามาทำงาน ในประเทศไทยให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น
10.การสร้างช่องทางการร้องทุกข์และการเข้าถึงช่องทางการร้องทุกข์สำหรับคนต่างด้าว
11.การกำหนดมาตรฐานในการเรียกเก็บค่าบริการและค่าใช้จ่ายในการนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน
12. การขึ้นทะเบียนตัวแทนนายจ้างและตัวแทนคนต่างด้าว
13.การกำหนดมาตรการทางปกครองให้มีการประกาศรายชื่อนายจ้างที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
14.ประเด็นสำคัญ...ในการรับคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในสถานประกอบการและบทลงโทษกรณีฝ่าฝืนจะต้องรับโทษอย่างไร?และอัตราเท่าไหร่? (โทษปรับ โทษจำคุก)ในประเด็นใดบ้าง? • การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวมาทำงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากอธิบดีฯ • การรายงานการนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างต่ออธิบดีกรมการจัดหางาน • ลูกจ้าง คนงาน ทำงานตามบ้าน สำนักงานต่างๆ • การรับคนต่างด้าวทำงานที่ห้ามคนต่างด้าวทำ • รับคนต่างด้าวที่ไม่มีใบอนุญาตทำงาน • รับคนต่างด้าวทำงานไม่ตรงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต • คนต่างด้าวที่ทำงานจำเป็นและเร่งด่วนแต่ไม่แจ้งนายทะเบียน • คนต่างด้าวทำงานแตกต่างจากที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต •ผู้ใดที่ยึดใบอนุญาตทำงานหรือเอกสารสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว •ผู้ใดหลอกลวงผู้อื่นว่าสามารถนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ
15.ถาม-ตอบปัญหา
|