วิทยากรโดย ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์ อาจารย์ธนเดช มหโภไคย
หัวข้อสัมมนา
วันที่ 1 การจัดการข้อมูลด้านบัญชีสำหรับหัวหน้าฝ่ายบัญชีและผู้จัดการฝ่ายบัญชี Accounting information management for chief accountants and accounting managers.
ด้านบัญชีการเงิน (Financial Accounting for Accounting Managers and Supervisors) 1. จุดสำคัญที่หัวหน้าฝ่ายบัญชีและผู้จัดการฝ่ายบัญชี ต้องให้ความสำคัญ 1.1 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (Accounting information system) ที่ควร Implement ในปัจจุบัน
1.2 Update Trend เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้านบัญชี 1.3 การสร้างระบบการทำงานในองค์กร และการจัดระบบการทำงาน
2. ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้นโยบายการบัญชี และงบการเงิน 2.1 การเลือกใช้และทางเลือกในมาตรฐานการรายทางการเงิน (Judgment) ที่มีผลกระทบต่องบการเงิน 2.2 Update มาตรฐานรายงานทางการเงินใหม่ 2.3 การ Review รอบการพิจารณาในมาตรฐานรายงานทางการเงินที่มีผลกระทบต่อมูลค่า ที่แสดงในงบการเงิน
3. การวิเคราะห์ข้อมูลในงบการเงินเพื่อนำข้อมูลทางการบัญชีการเงินนำไปประกอบการวางแผนการควบคุม และตัดสินใจการตัดสินใจ 3.1 สภาพคล่อง (Liquidity) 3.2 ความเคลื่อนไหวของทุนและการพยากรณ์ทางการเงิน 3.3 โครงสร้างของเงินทุนและความสามารถในการกู้ยืม 3.4 ผลตอบแทนของเงินทุน 3.5 ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์
4. แนวทางการใช้ข้อมูลทางการบัญชี เพื่อเสริมกลยุทธ์ของกิจการ 4.1 สร้างการบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียน (Working capital management (WCM) 4.2 การวิเคราะห์คุณภาพกำไร (Earning Quality Measurement) 4.3 สร้างการวิเคราะห์ จุดอ่อนของกิจการ และสถานภาพคู่แข่งขันจากการเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการกับกลุ่มอุตสาหกรรม 4.4 กำหนดเป้าหมายของกิจการ รวมทั้งใช้ในการทำแผนการเงิน(Business Plan)
ด้านบัญชีบริหาร (Management Accounting for Accounting Managers and Supervisors)
5. การใช้ข้อมูลด้านบัญชีบริหารเพื่อวางแผนและควบคุมกำไรเชิงรุก 5.1 การออกแบบโครงสร้างองค์กรเพื่อการบริหารงานสำหรับการจัดทำงบประมาณเชิงรุก 5.2 แนวทางในการควบคุมกำไรและการปฏิบัติงาน
6. การนำข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนเพื่อการบริหารไปใช้ในการสร้างปัจจัยชี้วัดความสำเร็จ (Critical Success Factors : CSFs) 6.1 การควบคุมค่าใช้จ่าย (Costs Control) และการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายเพื่อประหยัดต้นทุนการบริหารงาน 6.2 การวัดประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Measure Performance) 6.3 การวัดผลการปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 6.4 สถิติการดำเนินงานที่สำคัญ
7. การใช้ข้อมูลด้านการบัญชีต้นทุนเพื่อการบริหารเวลาและการควบคุมต้นทุน 7.1 ต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing) 7.2 สมการเวลา 7.3 การบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management:TQM)
8. การบัญชีเพื่อความยั่งยืน (Sustainability Accounting) 8.1 การบริหารความเสี่ยง 8.2 ESG
9. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพทางการบัญชี
วันที่ 2 การจัดการข้อมูลด้านการเงินสำหรับหัวหน้าฝ่ายบัญชีและผู้จัดการฝ่ายบัญชี Financial data management for chief accountants and accounting managers.
1. ความสัมพันธ์ของงานด้านการเงินกับงานด้านบัญชี
2. การสร้างมูลค่าและเป้าหมายด้านการเงิน
3. โครงข่ายการสร้างมูลค่าและตัวผลักดันมูลค่า
4. กระแสเงินสดอิสระหัวใจสำคัญในการสร้างมูลค่า
5. งบกระแสเงินสดที่หัวหน้าฝ่ายบัญชีและผู้จัดการฝ่ายบัญชี ต้องให้ความสำคัญ 5.1 Free cash flow to the firm 5.3 Cash Flow from investing activities 5.4 Cash Flow from Financing activities
6. กำไร (ขาดทุน) จากการดำเนินงานสุทธิหลังภาษี เพื่อใช้ในการตัดสินใจและบริหารเงิน 6.1 กำไร (ขาดทุน) จากการดำเนินงานสุทธิหลังภาษี 6.2 การตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินงาน การลงทุนและการจัดการทางการเงิน
7. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ที่ส่งผลต่อกระแสเงินสด 7.1 หนี้สงสัยจะสูญ 7.2 ขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง 7.3 ผลประโยชน์พนักงาน 7.4 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย - สะท้อนต้นทุนของการลงทุนในสินทรัพย์หลัก - ขนาดของรายการเทียบกับกำไรจากการดำเนินงานสุทธิหลังภาษี 7.5 การด้อยค่าของสินทรัพย์
8. เงินลงทุนส่วนเพิ่มในสินทรัพย์หลัก 8.1 รักษาคุณภาพสินทรัพย์ 8.2 รองรับกับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต 8.3 การลงทุนเพื่อขยายงาน
9. รายการเงินทุนหมุนเวียนดำเนินงานที่ต้องให้ความสำคัญ 9.1 เงินลงทุนในลูกหนี้การค้าและสินค้าคงคลัง 9.2 เครดิตที่ได้รับจากซับพลายเออร์ 9.3 วงจรการแปรสภาพเป็นเงินสด
10. สิ่งที่หัวหน้าฝ่ายบัญชีและผู้จัดการฝ่ายบัญชี ต้องให้ข้อมูลกับผู้บริหารเกี่ยวกับอัตราการเติบโตภายในและอัตราการเติบโตอย่างยั่งยืน
11. ต้นทุนเงินทุนและโครงสร้างเงินทุน
12. การประเมินมูลค่ากิจการและราคาหุ้น
13. เทคนิคการใช้อัตราส่วนทางการเงิน ในการวิเคราะห์และวางแผนธุรกิจ
|