-
อื่นๆ 6 ชม.
หัวข้อสัมมนา1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการรับ-จ่ายเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เจ้าหน้าที่บัญชีการเงิน แคชเชียร์ยุคใหม่ - การจัดทำเอกสารให้สอดคล้องกับการรับ-โอนเงินในระบบ e-Payment - e-Payment การรับ-จ่ายเงินเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ / ชำระเงินผ่าน QR-Code, Prompt Pay - e-Tax Invoice และ e-Receipt การจัดทำใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์และการจัดทำรายงานทางการเงิน - e-Withholding Tax การหัก ณ ที่จ่ายอิเล็กทรอนิกส์และการตรวจสอบเอกสารหลักฐาน - 23 ตราสารอิเล็กทรอนิกส์การชำระค่าอากรของสัญญาที่ต้องเป็นตัวเงิน2. การวางระบบ เอกสารรับ-จ่ายสำหรับเจ้าหน้าที่บัญชีการเงิน แคชเชียร์ - การจัดรายงานและรูปแบบรายงานที่เจ้าหน้าที่การเงินแคชเชียร์3. การวางระบบภาษีเกี่ยวกับเอกสารเกี่ยวกับเงินสดรับและเงินสดจ่าย ปัญหาและวิธีควบคุม - ตรวจรับ-จ่ายเงินสด - ควบคุมลูกหนี้ - ควบคุมเงินสดรับ - ควบคุมเงินสดจ่าย - ควบคุมด้านการขาย - ควบคุมด้านสินค้า - ออกใบเสร็จก่อนหรือหลัง ที่มีการรับเงิน ปัญหาภาษีที่ต้องระวัง - ปัญหาภาษีอากรในการจัดทำทะเบียนเอกสาร และวิธีการยกเลิกเอกสารรายรับ-จ่าย - หลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่าอย่างไรควรจ่ายเป็นเงินสด - เช็คเพื่อไม่ให้ถูกสรรพากรประเมิน - จุดสังเกตเอกสารประกอบการอนุมัติการจ่ายเงินให้น่าเชื่อถือ และสรรพากรยอมรับ4. รายงานการเบิก จ่ายเงินต่างๆ ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่บัญชีการเงิน แคชเชียร์ต้องปฏิบัติอย่างไรให้สรรพากรยอมรับ- ค่าใช้จ่ายที่พนักงานจ่ายแทนบริษัทแต่ใบเสร็จเป็นชื่อพนักงาน - ค่าพาหนะค่าน้ำมันรถพนักงาน กรณีที่นำรถมาใช้ในงาน - ค่าแท็กซี่, มอเตอร์ไซค์รับจ้าง - ค่าทางด่วน, ค่าผ่านทาง - ค่าที่พัก กรณีที่ต้องเดินทางไปต่างจังหวัด - ค่าเบี้ยเลี้ยง5. ประเด็นที่สรรพากรตรวจสอบเกี่ยวกับ เอกสารรับ-จ่ายเงินของเจ้าหน้าที่บัญชีการเงิน แคชเชียร์6. ปัญหาการจ่ายเงินกรณีที่ไม่มีใบเสร็จรับเงิน ต้องทำเอกสารอย่างไรให้สรรพากรยอมรับ - จ่ายเงินให้บุคคลธรรมดา - รายจ่ายที่ไม่สามารถระบุผู้รับได้ - จ่ายเงินให้บุคคลที่ไม่มีบัตรประชาชน - เงินใต้โต๊ะ, เงินกินเปล่า7. ปัญหาเกี่ยวกับเช็ค ผลกระทบทางภาษีอากรที่ เจ้าหน้าที่บัญชีการเงินแคชเชียร์ต้องระมัดระวัง - เช็คเด้งควรดำเนินการอย่างไร ปัญหาด้านเอกสารที่เจ้าหน้าที่การเงินต้องจัดทำ8. ปัญหาเกี่ยวกับการออกใบกำกับภาษีที่เจ้าหน้าที่บัญชีการเงิน แคชเชียร์ต้องควรระวัง - การตรวจสอบรายการในใบกำกับภาษี - ปัญหาเกี่ยวกับการออกใบกำกับภาษีให้หน่วยงานราชการ - การจัดทำใบกำกับภาษีกรณีจัดทำใบกำกับภาษีรวมกับเอกสารทางการค้าอื่น - แจ้งย้ายสถานประกอบการแล้ว ใบกำกับภาษีใช้ที่อยู่เดิมได้หรือไม่ - เรียกเก็บเงินทดรองจ่ายคืนจากคู่ค้า, บริษัทในเครือต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่ - เงินชดเชยค่าเสียหายต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่ - ใบกำกับภาษีที่จัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์จะแก้ไขตก เติม ได้หรือไม่ - การจัดทำใบกำกับภาษีระหว่างการขายเป็นเงินสดและเงินเชื่อต่างกันอย่างไร - ภาษีมูลค่าเพิ่มที่มีจุดทศนิยม - ค่าสินค้ารายเดียวกัน จะรวบรวมจัดทำใบกำกับภาษีและส่งมอบให้เป็นรายอาทิตย์หรือรายเดือนได้หรือไม่ - ได้รับเงินมัดจำจากการขายสินค้า ต้องจัดทำใบกำกับภาษีอย่างไร- กรณีการแถมสินค้าพร้อมขาย ต้องระบุสินค้าที่แถมไว้ในใบกำกับภาษีหรือไม่ - การให้ส่วนลด ต่างๆจะต้องระบุส่วนลดลงในใบกำกับภาษีทุกกรณีหรือไม่ - การจัดทำใบกำกับภาษีกรณีระบุอัตราแลกเปลี่ยน - ออกใบกำกับภาษีแล้ว ต่อมาเช็คไม่สามารถเบิกเงินได้ต้องเปลี่ยนเช็คที่ปรากฏในใบกำกับภาษีจะมีผลต่อใบกำกับภาษีที่ออกไปแล้วหรือไม่ - สาขาขายสินค้าหรือให้บริการ สำนักงานใหญ่จะออกใบกำกับภาษีแทนได้หรือไม่ - ข้อแตกต่างระหว่างการออกใบแทนใบกำกับภาษีกับการยกเลิกแล้วออกใหม่ - สินค้าฝากขายต้องออกใบกำกับภาษีอย่างไร - ขายสินค้าครั้งหนึ่งไม่เกิน1,000 บาท จะไม่ออกใบกำกับ ภาษีได้หรือไม่ - การออกใบกำกับภาษีล่าช้ามีความผิดอย่างไร - ใบกำกับภาษีจากการซื้อทรัพย์สินร่วมกันหลายบริษัทใช้ได้หรือไม่ - การรับชำระเงินผ่านธนาคาร, ธนาณัติ, เคาน์เตอร์เซอร์วิส หรือโดยให้เครดิต ประเด็นที่ต้องระวังในการ - กรณีได้รับเช็คย้อนหลัง เช็คข้ามเดือน - การจัดทำใบกำกับภาษีอย่างย่อ ในหนึ่งวันทำการสามารถออกใบกำกับภาษีอย่างย่อรวบรวมการขาย - นำเครื่องบันทึกการเก็บเงินออกนอกสถานประกอบการต้องแจ้งกรมสรรพากรหรือไม่9. ปัญหาเกี่ยวกับการออกใบเพิ่มหนี้ใบลดหนี้ข้อควรระมัดระวังที่มักถูกสรรพากรประเมิน - ใบเพิ่มหนี้ใบลดหนี้มีหลักเกณฑ์ในการออกอย่างไร และต้องมีรายการใดบ้าง - ใบกำกับภาษีอย่างย่อใช้อ้างอิงในใบลดหนี้ใบเพิ่มหนี้ได้ หรือไม่ - ใบลดหนี้ออกในวันและเดือนเดียวกับเดือนที่ออก ใบกำกับภาษีได้หรือไม่10. การติดตาม และตรวจสอบใบกำกับภาษีเพื่อป้องกันปัญหาทางด้านภาษีอากร-ความถูกต้องของเอกสารรายจ่าย และเอกสารการรับเงินที่ออกให้กับลูกค้า - จ่ายเงินแล้วแต่ยังไม่ได้รับใบเสร็จ - ใบเสร็จที่ได้รับข้ามเดือน, ข้ามปี - ใบเสร็จรับเงิน หรือใบกำกับภาษีที่พนักงานบริษัทได้รับมาแล้วแต่นำมาให้ล่าช้า11. วิธีการตรวจสอบใบกำกับภาษีที่เจ้าหน้าที่บัญชีการเงินแคชเชียร์เพื่อป้องกันปัญหาภาษีซื้อต้องห้าม12. หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไรให้ถูกต้องถูกอัตรา
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ : 02-694-2222