-
เจาะลึก 169 ประเด็นปัญหาภาษีแบบครบวงจรที่ผู้ทำบัญชี
และนักบัญชีไม่ควรพลาด
• Update กฎหมายใหม่ และประเด็นทางภาษีปี 2566 มีอะไรบ้างที่แก้ไข, เปลี่ยนแปลง• ให้สวัสดิการพนักงานอย่างไร ไม่เป็นเงินได้กับพนักงานและบริษัทลงรายจ่ายได้อย่างแน่นอน• สารพันปัญหาที่เกิดขึ้นจริงและพบมากที่สุด พร้อมวิธีการแก้ปัญหาอย่างถูกจุด - ค่ารับรอง, การหัก ณ ที่จ่าย, ภาษีและการส่งเสริมการขาย, ค่าเช่าและปัญหารายจ่าย อันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว• พร้อมเคลียร์ปัญหาเอกสารในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
วิทยากรโดย อาจารย์ ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
1. 10 ประเด็น Update กฎหมายใหม่ที่นักบัญชีต้องทราบ2. 10 ปัญหา รายได้ที่มักถูกสรรพากรประเมิน3. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หาหรือการกุศล - รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะลงค่าใช้จ่ายได้ 200% ทุกกรณีหรือไม่ - รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว - บริจาคอย่างไรให้ได้ประโยชน์และถูกต้องทางภาษี - รายจ่ายในการฝึกอบรมและสัมมนา 200% กับประเด็นโต้แย้งของสรรพากรพื้นที่ - ปัญหารายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษา - บริษัทจ่ายเงินค่าจัดทำของรางวัลเพื่อเป็นเกียรติแก่พนักงานดีเด่น - รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการขายอย่างไรจึงจะไม่เป็นการให้โดยเสน่หา - รายจ่ายส่วนตัวทำอย่างไรจะลงค่าใช้จ่ายได้ - ช่วยซื้อบัตรชมกีฬา ของขวัญอวยพรวันเกิดบุคคลสำคัญ - ค่าซื้อบัตรการกุศลต่างๆ เช่น บัตรแสดงดนตรี ละคร - รายจ่ายค่าซื้อของขวัญในโอกาสต่างๆ เช่น งานบวช งานเลี้ยง งานทอดกฐิน งานศพ พวงหรีด เงินช่วยเหลือ พนักงาน - ค่าเดินทางของกรรมการไปต่างประเทศ - ค่าน้ำมัน ค่าซ่อมรถ ค่าต่อภาษี ซึ่งกรรมการใช้รถส่วนตัว - บริษัทสมัครเป็นสมาชิก Sport Club เพื่อกรรมการ ผู้บริหารงานเข้าไปใช้บริการ - บริษัทให้หุ้นกับพนักงานเป็นรายบุคคล4. ค่ารับรองจะลงเป็นรายจ่ายได้ต้องมีเงื่อนไขอย่างไร- ใบเสร็จร้านอาหาร ระบุชื่อว่าสด หรือไม่ระบุชื่อผู้รับบริการ หรือ ระบุชื่อกรรมการ - ยอดรายได้ที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณค่ารับรองคิดอย่างไร - ค่ารับรองเกิน 2,000 บาทนำมาลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ อย่างไร - ค่ารับรองจะลงรายจ่ายอย่างไรไม่ถูกบวกกลับ5. สวัสดิการพนักงานให้อย่างไรไม่เป็นเงินได้พนักงาน และบริษัทลงรายจ่ายได้ - ค่าพาหนะ - ค่าเบี้ยเลี้ยง - ค่าเช่าบ้าน - ค่าเครื่องแบบ - ค่าเบี้ยประกัน - ค่าเครื่องแบบพนักงาน - การจัดสัมมนาต่างจังหวัด - การให้พนักงานกู้ยืมเงิน โดยไม่คิดดอกบี้ย - ให้พนักงานทานอาหารฟรี6. ปัญหาเกี่ยวกับรายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ - บิลเงินสดที่ไม่มีชื่อ ที่อยู่ ผู้ออก แต่มีนามบัตรของร้านรายจ่ายได้หรือไม่ - ค่ารับรองที่ไม่สามารถแจงรายละเอียดได้แต่มีการอนุมัติ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้น - ใบรับเงิน ที่มีข้อความไม่ครบถ้วน7. การหักภาษี ณ ที่จ่าย แบบกระดาษ VS e-WHT มีความแตกต่างอย่างไร- สิทธิประโยชน์ทางภาษี การลงรายจ่าย 2 เท่า- หลักเกณฑ์วิธีการตามกฎหมาย- อัตราภาษีที่ต้องหัก และข้อยกเว้น8. ปัญหาเกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่ายทั้งแบบกระดาษ VS e-WHT- บริษัทหัก หรือถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายทั้ง 2 ระบบต้องปฏิบัติอย่างไร- หักภาษีไว้ผิดอัตรา จากการแก้ไขกฎหมาย ผู้ออกและผู้รับมีความผิดหรือไม่ - ซื้อขายกับรับจ้างทำของ - ขายพร้อมติดตั้ง - ซื้อสินค้าแถมบริการ - ซื้อเครื่องจักรพร้อมเทคนิคพิเศษ (Know How) ในการผลิต - การจ่ายค่าซ่อม แยก/รวมบิลค่าบริการกับค่าอะไหล่ต้องหกั ภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร - บิลค่าอะไหล่กับค่าบริการเป็นคนละบริษัท - การเปลี่ยนยางรถยนต์ เปลี่ยนนแบตเตอรี่ เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องถือเป็นรับจ้างหรือซื้อขาย9. ประเด็นปัญหาการหัก ณ ที่จ่ายจากการส่งเสริมการขาย - การให้เงินช่วยเหลือ เงินสนับสนุนกับตัวแทน/ดีลเลอร์ - ให้คูปองเป็นส่วนลดในการซื้อสินค้าครั้งต่อไป - เงินช่วยเหลือในการทำตลาด, เงินชดเชยส่วนลดที่ให้กับ ลูกค้า - ให้เงินหรือสิ่งของจากการขายสินค้าได้ตามเป้า10. ปัญหาด้านการจ่ายค่าเช่า - การจ่ายค่าบริการส่วนกลาง - จ่ายค่าประกันภัยแทนเจ้าของอาคาร หักภาษีอย่างไร - ค่าเช่าอาคาร Office เรียกเก็บบิลเดียวพร้อมค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า - ค่าคลังสินค้า, เก็บสินค้า เป็นการจ่ายค่าเช่าหรือค่าบริการ - ให้เช่ากับบริการพื้นที่ต่างกันอย่างไร และจะหักภาษี ณ ที่จ่ายอัตราเท่าไร - การจ่ายค่าภาษีโรงเรือนแทนผู้ให้เช่าลงเป็นค่าใช้จ่ายได้ หรือไม่11. ปัญหาภาษีจากการจ่ายค่าขนส่ง - อย่างไรถือเป็นค่าขนส่ง - ขนส่ง ต้องจดทะเบียนขนส่งหรือไม่ - ขายสินค้าพร้อมขนส่ง, เช่าพร้อมขนส่ง - ขนส่ง, รับจ้าง, เช่า สรรพากรใช้หลักเกณฑ์พิจารณา อย่างไร12. ปัญหาการจ่ายค่าสินค้าพร้อมติดตั้ง - ขายสินค้าพร้อมติดตั้ง แยกใบเสร็จรับเงิน - การเปลี่ยนนยางรถยนต์ แบตเตอรี่ โดยไม่คิดค่าแรง - ขายสินค้าพร้อมบริการ - ขายเครื่องจักรพร้อมติดตั้ง13. Tax Point กับหน้าที่ในการเสียภาษี - การขายสินค้าและการให้บริการ Tax Point เกิดเมื่อใด - ผลเสียหายจากการไม่ออกใบกำกับภาษีตาม Tax Point - Tax Point ของการขายไฟฟ้า น้ำประปา - การรับชำระราคาด้วยเช็ค ถ้าเช็คเด้ง Tax Point เกิดหรือไม่ - การส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าทดลองใช้ กรณีลูกค้าซื้อสินค้าดังกล่าว14. 20 ประเด็น ปัญหาใบกำกับภาษี ใบรับทั้งแบบกระดาษ และแบบอิเล็กทรอนิกส์ - การได้รับชำระราคาด้วยเช็ค ถ้าเช็คลงวันที่ย้อนหลัง, เช็คลงวันที่ล่วงหน้าจะออกใบกำกับภาษีอย่างไร - ผลเสียหายจากการส่งมอบสินค้าแล้วแต่ไม่ออกใบกำกับภาษี - ใบกำกับภาษีที่ระบุที่อยู่ของที่ติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้า เช่น เช่าแผ่นป้ายโฆษณา - การเปลี่ยนแปลงชื่อ, ที่อยู่, TAX ID ของผู้ซื้อ ผู้ขายจะออกใบกำกับภาษีอย่างไร - การได้รับใบกำกับภาษีข้ามเดือน จะนำมาขอคืนภาษีซื้อ ได้หรือไม่ - ใบกำกับภาษีผิด, หาย, ชำรุด จะแก้ไขอย่างไร - ใบเสร็จรับเงินของกรมศุลกากรที่คำนวณ VAT ผิดพลาดใช้ได้หรือไม่ - รายการใดในใบกำกับภาษีที่สามารถแก้ไขได้ - การออกใบกำกับภาษีก่อนเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT - การออกใบกำกับภาษีกรณีมีการลดราคา แถมสินค้า - ใบกำกับภาษีที่สามารถขอคืนภาษีซื้อได้ - การเรียกเก็บเงินทดรองจ่ายต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่ - ใบกำกับภาษีออกและส่งมอบให้ผู้ซื้อแล้ว จะยกเลิกได้ หรือไม่ - ใบกำกับภาษีของค่าน้ำมันมีเงื่อนไขพิเศษอย่างไร - การนำสินค้าไปใช้ในกิจการ ต้องเสีย VAT และออกภาษีหรือไม่ - การออกใบกำกับภาษีร่วมกับเอกสารการค้าอื่นๆ มีเงื่อนไขอย่างไร - ใบกำกับภาษีที่เป็น “สำเนา” ใช้ได้หรือไม่ - การออกใบกำกับภาษีกรณีมีการซื้อสินค้าหลายรายการ15. 20 ประเด็น การออกใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ จะออกได้เมื่อใด - เงินประกัน เงินจอง เงินมัดจำ เงินจ่ายล่วงหน้า - การให้ส่วนลดหลังการขายต้องออกใบลดหนี้หรือไม่ - กรณีมีการบอกเลิกสัญญา มีการคืนสินค้าเนื่องจากบริการบกพร่อง ไม่มีการให้บริการ จ่ายเงินชดเชยค่าความเสียหาย - มูลค่าสินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้นจะต้องทำอย่างไร เมื่อออกใบกำกับภาษีไปแล้ว - กรณีมีการคืนสินค้าที่แถม ต้องออกใบลดหนี้หรือไม่ - การออกใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้ทางการค้าทำได้หรือไม่ อย่างไร16. เหตุและระยะเวลาในการออกใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ ตาม หลักเกณฑ์ของ กรมสรรพากร17. รายการในใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้ และมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ที่จะออกใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ - มูลค่าเฉพาะรายการหรือมูลค่ารวมทั้งหมดที่จะออกใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ - กรณีออกใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้ชุดเดียวกันจากใบกำกับภาษีหลายชุดได้หรือไม่ - รายการที่ต้องแสดงในใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ จะต้องระบุทุกรายการ ตามใบกำกับภาษีเดิมหรือไม่ - การออกใบลดหนี้ในอัตรา 10% ทำได้หรือไม่ และต้องยื่นรายการต่อสรรพากรอย่างไร18. กรณีออกใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ ไปแล้ว แต่มีเหตุอื่นที่ต้องออก ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้อีกจะอ้างอิงใบกำกับภาษี ฉบับเดิมหรืออ้างถึงใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ที่ออกไป19. ปัญหาภาษีซื้อต้องห้าม - ใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ที่ไม่มีสิทธิออก - การวางแผนภาษีจากการได้รับใบกำกับภาษีล่าช้า - ไม่มีใบกำกับภาษี - ใบกำกับภาษีไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ - ภาษีซื้อต้องห้ามที่ต้องบวกกลับในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล - ภาษีซื้อต้องห้ามจากใบกำกับภาษีอย่างย่อ - ค่ารับรองกับค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ลงบัญชีอย่างไร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด - ภาษีซื้อที่เกิดจากค่ารับรองถือเป็นค่าใช้จ่ายได้อย่างไร20. 12 ประเด็น ภาษีซื้อ-ภาษีขาย การเฉลี่ยภาษีซื้อ-ภาษีขาย การขอคืนและเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่ม21. 10 ประเด็น รายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม - กรณีการจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ (เก็บสินค้าไว้ที่อื่น) - การลงรายงานภาษีซื้อ - สินค้ามีประกัน สินค้าที่จะนำไปส่งเสริมการขายต้องทำรายงานหรือไม่ - การจัดทำรายงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ต้องมีเงื่อนไขอย่างไร22. ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีซื้อต้องห้ามสามารถลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ - กรณีไม่มีใบกำกับภาษีหรือไม่แสดงยอดภาษีมูลค่าเพิ่มจะนำภาษีซื้อมาลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ - ใบกำกับภาษีที่ลงข้อความไม่ถูกต้อง จะลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ - ภาษีซื้อเกิน 6 เดือน นำมาลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ - เงินช่วยเหลือที่ให้กับบริษัทในเครือกับประเด็นปัญหารายจ่าย - การเฉลี่ยค่าใช้จ่าย (Costing Sharing) ระหว่างบริษัทใน เครือลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่23. 10 ประเด็น การวางแผนภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้ามาส่งเสริมการขาย (Sale Promotion) แจก แถม แลกซื้อ ฯลฯ ทำอย่างไรขอคืนได้24. 10 ประเด็น การวางแผนภาษีซื้อจากการซื้อขายสินค้า โดยใช้ Tax Point ให้เกิดประโยชน์
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ : 02-694-2222