• กรณีนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย หรือเงินอื่นๆ ที่กฎหมายให้จ่ายแก่ลูกจ้าง แต่นายจ้างไม่จ่าย จะต้องจ่ายอัตราดอกเบี้ยเท่าไหร่
• อัตราค่าชดเชยเพิ่มเติม กรณีนายจ้างเลิกจ้างสำหรับลูกจ้าง ที่ทำงานติดต่อ 20 ปี จะต้องได้รับสิทธิค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน
• สาเหตุสําคัญ ของการปลดออก ไล่ออก ลาออก และประเภทการพ้นสภาพ จากการเป็นพนักงานที่ลูกจ้างไม่ทราบ
• ประเภทและขั้นตอน ของการลงโทษทางวินัยที่ถูกต้องตามกฎหมาย และสามารถเลิกจ้างพนักงาน โดยเป็นการเลิกจ้างอย่างเป็นธรรม
• กรณีลูกจ้างพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานมีกรณีอะไรบ้าง? จะต้องจ่ายเงินประเภทใด? จ่ายเงินอย่างไร?
บรรยายโดย อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
หัวข้อสัมมนา
1. ความหมายและวัตถุประสงค์ของวินัยและการลงโทษทางวินัย ▪ ความหมายของ “วินัย” และ “วินัยเกี่ยวกับการทำงาน” ▪ การโยกย้าย ลดตำแหน่งหน้าที่ เป็นการลงโทษทางวินัยหรือไม่ ▪ วัตถุประสงค์ของวินัย และการลงโทษทางวินัย 2. วินัยและการลงโทษเกี่ยวข้องกับข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานอย่างไร? 3. ประเภทของวินัยเกี่ยวกับการทำงาน มีความหมายอย่างไร? 4. ขอบเขตของวินัยเกี่ยวกับการทำงาน เพื่อความจำเป็นและเหมาะสม ในการทำงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ▪ วินัยทางด้านสถานที่ ▪ วินัยของวันเวลาทำงาน ▪ วินัยเกี่ยวกับความจำเป็น 5. วินัยที่่ดีมีลักษณะอย่างไร? ถูกใจและถูกต้อง ทั้งนายจ้างและลูกจ้าง ▪ ชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถปฏิบัติได้ ▪ สอดคล้องกับการทำงาน ▪ ถูกต้องตามกฎหมาย 6. อะไร? คือสาเหตุของการฝ่าฝืนวินัย จุดบอดของ HR ที่จะต้องระมัดระวัง 7. ประเภทของการลงโทษทางวินัย มีอะไรบ้าง? จะต้องดำเนินการอย่างไร ให้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน ▪ ตักเตือนด้วยวาจา ต้องทำเป็นหนังสือหรือไม่อย่างไร ▪ ตัด หรือ ลด สิทธิประโยชน์ทางด้านใดได้บ้าง ▪ การลงโทษพนักงานด้วยการภาคฑัณฑ์ ▪ การลงโทษด้วยการพักงาน สามารถทำได้ต่อเมื่อลูกจ้างทำผิดสาเหตุใดบ้าง ▪ การเลิกจ้าง 8. หลักการในการกำหนดความผิดและโทษทางวินัย ควรจะต้องใช้หลักใด ในการกำหนดความผิด ▪ เลิกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ▪ ตัวอย่างการกำหนดวินัย ▪ จำนวนครั้งของการทำผิด 9. ขั้นตอนการลงโทษพนักงานที่ทำผิดวินัย มีขั้นตอนอย่างไร? ▪ การรวบรวมหลักฐานที่มีอยู่ - พยานหลักฐาน (พยานบุคคล พยานเอกสาร) ▪ คณะกรรมการสอบสวนลงโทษทางวินัย - การพักงานลูกจ้าง ขณะสอบสวน ▪ ลูกจ้างทำผิดซ้ำคำเตือน 10. การลงโทษทางวินัย (ขั้นสูงสุด) การเลิกจ้าง (Dismissal) จะต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อป้องกันลูกจ้างฟ้องร้องภายหลัง ▪ กรณีใดบ้าง? ที่นายจ้างสามารถเลิกจ้าง (ไล่ออก) ได้อย่างถูกต้อง ▪ การจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษต่างๆ ที่นายจ้างต้องจ่ายลูกจ้าง 11. HR ต้องทำการตรวจสอบเรื่องวินัย ขาด ลา มาสาย แต่งกายผิดระเบียบ มาสายกลับก่อน ทะเลาะวิวาท ดื่ม สุรา ฯลฯ ของพนักงานในสถานที่ทำงาน12. กรณีนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย หรือเงินอื่นๆ ที่กฎหมายให้จ่ายแก่ลูกจ้างแต่นายจ้างไม่จ่าย จะต้องจ่ายอัตราดอกเบี้ยเท่าไหร่
ถนน สุขุมวิท แขวง คลองเตยเหนือ เขต วัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ :