-
• Cases การต่อสู้คดีที่ชนะสรรพากร• Cases จุดเสี่ยงของการเรียกและไม่เรียกเก็บค่าตอบแทนจากการขายหรือให้บริการกับบริษัทในเครือ Transfer Pricing• Cases การตรวจสอบรายการบวกกลับที่นักบัญชีต้องระวัง และผลกระทบกับการเสียภาษี
วิทยากรโดย อาจารย์กัมพล ทรัพย์ปรุง
หัวข้อสัมมนา
1. 9 Cases ประเด็นรายได้ที่สรรพากรตรวจสอบและวิธีการรับมือ1. เมื่อสรรพากรเปรียบเทียบรายได้กับปีภาษีก่อนจุดที่นักบัญชีต้องเตรียมข้อมูลเพื่อชี้แจงกับสรรพากร2. ปัญหารายได้จากการทำ Barter ที่ไม่ได้รับรู้3. ปัญหารายได้จากการส่งเสริมการขายประเด็นหลักที่นักบัญชีต้องระวัง4. ปัญหารายได้ไม่สัมพันธ์กับต้นทุน/ค่าใช้จ่าย (รายได้น้อยกว่ารายจ่าย)5. การบันทึกบัญชีด้านรายได้ไม่สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริงของกิจการ6. ปัญหาการให้ส่วนลดกับลูกค้า/บริษัทในเครือ สูงผิดปกติ7. เมื่อสรรพากรให้เพิ่มรายได้ผลกระทบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีหัก ณ ที่จ่าย สิ่งที่นักบัญชีต้องระวัง8. เมื่อมีการจำหน่ายทรัพย์สินแต่ไม่รับรู้กำไรเป็นรายได้9. การตรวจสอบค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าซ่อมบำรุงเครื่องจักรโรงงาน ค่าจ้างพนักงานที่สูงกว่ารายได้ที่ได้รับ2. 12 Cases เป้าหมายใหญ่ “รายจ่าย” ที่เกิดขึ้นในกิจการกับประเด็นการตรวจและวิธีการตรวจภาคพิศดาร1. รายจ่ายที่ต้องบวกกลับทุกครั้งเมื่อสรรพากรตรวจสอบ2. ค่าตอบแทนกรรมการลักษณะอย่างไร สรรพากรให้บวกกลับ3. โบนัสพนักงาน กรณีบริษัทขาดทุนลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่4. ค่าที่ปรึกษา ค่านายหน้า ค่าตอบแทนกรณีพิเศษของกรรมการ5. ไม่มีการบันทึกรายจ่ายข้ามรอบบัญชีเลย / ลงรายจ่ายเต็มจำนวนในรอบบัญชี6. มีค่าใช้จ่ายบางรายการที่ไม่ควรเกิดในขึ้นในกิจการ7. เจาะบัญชีค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด สรรพากรมองอย่างไร8. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กับการให้บวกกลับของสรรพากร9. มีรายจ่ายในการซื้อสินค้าสูง แต่รายได้ต่ำ10. ส่งเสริมการขายการตรวจสอบรายจ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่มและการหักภาษีณ ที่จ่าย11. ค่าตอบแทนกรรมการสูงกับผลของการตรวจสอบของสรรพากรจะเป็นอย่างไร12. ค่าใช้จ่ายที่ไม่เคยจ่าย แต่มีการจ่ายในปีที่ถูกตรวจสอบ3. 4 Cases การตรวจสอบรายการบวกกลับที่นักบัญชีต้องระวังและผลกระทบกับการเสียภาษี1. รายจ่ายที่สรรพากรให้บวกกลับ ผลกระทบทางบัญชีภาษีในรอบบัญชีปัจจุบันและรอบบัญชีถัดไป2. ภาษีที่เสียไว้ขาดตามแบบ ภ.ง.ด. 513. สรรพากรให้เพิ่มรายจ่ายต้องห้ามเพื่อเพิ่มยอดรายได้มีผลอย่างไร4. ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้เกิน แต่ไม่ให้ขอคืนจะมีผลอย่างไร4. วิธีการตรวจสอบภาษีแบบ “ย้อนเกร็ด” ผู้เสียภาษีของสรรพากร5. ไม่ขอคืนภาษีที่เสียไว้เกินจะถูกตรวจสอบจริงหรือไม่6. รายได้- รายจ่าย ที่สรรพากรให้เพิ่ม ทำให้เสียภาษีเพิ่มขึ้นจะกระทบกับงบการเงินหรือไม่7. จุดตรวจเมื่อกระทบยอด ภ.ง.ด. 50 ภ.พ. 30 เเละ ภ.ง.ด. 538. 9 Cases จุดเสี่ยงของการเรียกและไม่เรียกเก็บค่าตอบแทนจากการขายหรือให้บริการกับบริษัทในเครือ Transfer Pricing1. การขายสินค้าหรือให้บริการระหว่างกันในราคาพิเศษ2. การขายสินค้าหรือให้บริการระหว่างกันโดยไม่เรียกเก็บค่าตอบแทน3. การถ่ายโอนกำไรระหว่างกัน เพื่อการเลี่ยงภาษี4. การให้ส่วนลดมากกว่าลูกค้ารายอื่น5. การใช้พนักงานทำงานชุดเดียวกัน6. การยืมเงินทดรองจ่าย7. มีรายจ่ายเพิ่มแต่รายได้ลด8. ทรัพย์สินลดแต่รายได้ไม่เพิ่ม9. จ่ายปันผล แต่ไม่มีเงินสด ต้องกู้ธนาคาร9. ถูกสรรพากรเรียกพบก่อนยื่นแบบ ภ.ง.ด. 50, 51 สรรพากร มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไรและนักบัญชีต้องเตรียมตัวอย่างไร10. เทคนิคการให้ปากคำ (คำให้การ) กับเจ้าหน้าที่สรรพากร1. ให้ปากคำอย่างไร ไม่ถูกสรรพากรประเมิน2. การเตรียมตัว เอกสาร ข้อมูลในการให้ปากคำ3. ข้อควรระวังเเละสิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการบันทึกคำให้การ ต.6 ของเจ้าหน้าที่สรรพากร11. ตัวอย่างการให้ปากคำ กับเจ้าหน้าที่สรรพากรที่เป็นผลดีเเละผลเสียกับกิจการจากประสบการณ์การทำงานจริงของวิทยากร12. การจับเท็จของเจ้าหน้าที่สรรพากรจากการให้ปากคำของนักบัญชี13. 5 Cases การต่อสู้คดีที่ชนะสรรพากร14. ปัญหาการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี1. การใช้สิทธิประโยชน์จากการซื้อ Software2. การใช้สิทธิประโยชน์จากการลงทุนในทรัพย์สิน3. การใช้สิทธิประโยชน์ด้านรายได้4. การใช้สิทธิประโยชน์ด้านรายจ่าย
4 ถ.สุขุมวิท ซ.2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ : 02-656 7700