• ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการขาย การตลาด ที่จะทำให้เกิดช่องว่าง ในการทุจริต • ข้อควรระวัง เกี่ยวกับภาระผูกพันธ์ของสัญญา ตามใบเสนอราคา หรือสัญญาต่างๆ ที่ให้ไว้กับลูกค้า • แบบฟอร์มเอกสารที่ใช้ในระบบงานขายเพื่อควบคุมและป้องกัน การทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้น • เทคนิคในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันการทุจริต • กรณีศึกษาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการทุจริตในระบบงานขาย
บรรยายโดย อาจารย์เดชา ศิริสุทธิเดชา
หัวข้อสัมมนา
1.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ“ทุจริต”เพื่อป้องกัน สิ่งที่จะเกิดขึ้นในองค์กร • “ทุจริต” คืออะไร • ประเภทของทุจริต • ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดทุจริต
2. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการขาย การตลาด ที่จะทำให้เกิดช่องว่างในการทุจริต • การวางระบบงานขาย • ลักษณะบุคลากรที่เหมาะสมกับงานขาย • รูปแบบการขาย (แบบปกติและ แบบออนไลน์) มีความแตกต่างกันอย่างไร
3. กระบวนการคัดสรรลูกค้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อองค์กร และป้องกันความเสียหาย • การสรรหาลูกค้าเพื่อลดความเสี่ยงต่อหนี้เสีย หรือหนี้สูญที่จะเกิดขึ้นกับองค์กร • การประเมินคุณลักษณะของลูกค้า ที่มีความน่าเชื่อถือที่จะสามารถสร้างยอดขาย อย่างต่อเนื่อง และลดความสูญเสียต่างๆ • การเสนอราคา • การรับคำสั่งซื้อ • การตรวจสอบ สินเชื่อคงเหลือกรณีขายเชื่อ • การขายและการอนุมัติกรณีติดวงเงินสินเชื่อ
4. การตรวจสอบเกี่ยวกับค่าตอบแทนการขาย • ค่าคอมมิชั่น • การเบิกค่าพาหนะ • การเบิกสินค้าเพื่อแจก Promotion • การเก็บเงินลูกค้า (การยักยอกเงิน) • การตัดบัญชีลูกหนี้ลูกหนี้ค้างรับ
5. ข้อควรระวัง เกี่ยวกับภาระผูกพันธ์ของสัญญา ตามใบเสนอราคาหรือสัญญาต่างๆ ที่ให้ไว้กับลูกค้า
6. กระบวนการส่งสินค้า และบริการ ให้กับลูกค้า • การตรวจสอบเอกสารในการส่งสินค้าและบริการ • จำนวนสินค้าและบริการที่ส่งมอบให้ลูกค้า • จำนวนเงินตามที่ตกลงกัน ในใบเสนอราคา
7. รูปแบบและวิธีการป้องกันการทุจริตการรับชำระเงิน ในประเภทต่างๆ เพื่อป้องกันการทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้น • เงินสด • เช็ค • การโอนเงินแบบ e-payment • บัตรเครดิต
8. แบบฟอร์มเอกสารที่ใช้ในระบบงานขายเพื่อควบคุม และป้องกันทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้น • ใบขอซื้อและใบสั่งซื้อจากลูกค้า • ใบเสนอราคา • ใบรับคำสั่งซื้อ(Sales Order) • ใบส่งสินค้าหรือบริการ • ใบกำกับภาษี • ใบเสร็จรับเงิน
9. เทคนิคในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันการทุจริต จากเหตุที่จะเกิดขึ้นในระบบงานขายเพื่อป้องกัน Flow ในการป้องกันการทุจริต • การตรวจสอบระบบขาย(Sale Audit Techniques) • ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากระบบงานขาย (Sale Risk Implications) • จุดควบคุม (Control Points) ในระบบงานขาย
10. การตรวจสอบเกี่ยวกับการทุจริต ระหว่างขายและ คลังสินค้า • การตรวจสอบ Sale Order กับ ใบส่งของ • การรับ-จ่าย สินค้า • การชดเชยสินค้าในกรณีต่างๆ
11. เครื่องมือใดบ้าง? ที่ช่วยในการตรวจสอบเกี่ยวกับ การทุจริตระบบการขาย
12. พฤติกรรมและสัญญาณบอกเหตุที่อาจจะเกิดการทุจริต ในระบบงานขาย (Red Flags on Behavioral to Sale Fraud)
13. กรณีศึกษาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการทุจริตในระบบงานขาย
14. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
|