ภาระภาษีบริษัทญี่ปุ่นและคนญี่ปุ่นที่มีเงินได้จากประเทศไทย

รหัสหลักสูตร : 21/08315P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,350 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,099 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



ภาระภาษีบริษัทญี่ปุ่นและคนญี่ปุ่นที่มีเงินได้จากประเทศไทย


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชั่วโมง
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชั่วโมง

 

หัวข้อสัมมนา

1. หลักเกณฑ์การเสียภาษีของบริษัทญี่ปุ่นตามกฎหมายไทย

2. ปัญหาการเสียภาษีของบริษัทญี่ปุ่นที่ประกอบกิจการหรือมีรายได้ในไทย
- ฐานภาษีภาษีเงินได้นิติบุคคลของไทย
- มีตัวแทน/ผู้ติดต่อ/ผู้ทำการแทนในไทยต้องเสียภาษีอย่างไร
- ค่าที่ปรึกษา ค่า Management fee
- ค่านายหน้าที่หาลูกค้าทั้งในไทยและในประเทศญี่ปุ่น
- เงินปันผล/ส่วนแบ่งกำไร/ดอกเบี้ย/ค่าสิทธิ/กำไรธุรกิจ/ค่าเช่า
- ได้รับค่าตอบแทนจากการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- มีเงินได้จากกิจการขนส่งผ่านประเทศต่าง ๆ

3. ประเด็นทางภาษีการจ่ายเงินกำไรออกไปต่างประเทศ

4. ปัญหา การกำหนดราคาโอน Transfer Pricing ระหว่างบริษัทในเครือ

5. การยุบรวมโรงงานผลิตสินค้า/ย้ายฐานการผลิตผลกระทบทางภาษี
- Stock สินค้าที่คงเหลือ
- เลิกจ้างพนักงานหรือย้ายพนักงานไปสาขาอื่น
- การปิดกิจการสาขาในไทยกับภาระภาษีที่เกิดขึ้น

6. การนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม/นำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
- กรณีใดที่ต้องนำส่งทั้ง ภ.ง.ด. 54 และ ภ.พ. 36
- กรณีใดบ้างที่ต้องนำส่งภ.พ.36 แต่ไม่ต้องนำส่ง ภ.ง.ด. 54
- นำส่ง ภ.ง.ด. 54 แต่ไม่ต้องยื่น ภ.พ. 36
- กรณีใดไม่ต้องนำส่งทั้ง ภ.ง.ด. 54 และ ภ.พ. 36

7. วิธีการเสียภาษีและประเด็นที่คนญี่ปุ่นต้องระมัดระวัง
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชาวญี่ปุ่นผู้มีเงินได้ที่อาจจะเสียภาษีในประเทศไทย Update
- หลักแหล่งเงินได้
- หลักถิ่นที่อยู่ ที่มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567
- ไม่ได้อยู่ในไทยแต่มีเงินได้จากไทย เสียภาษีอย่างไร
- การคำนวณภาษีและการหักลดหย่อน
- มีภรรยาและบุตรอยู่ในเมืองไทยจะเสียภาษีอย่างไร
- ภรรยาและบุตรอยู่ต่างประเทศ นำมาลดหย่อนภาษีในประเทศไทยได้หรือไม่
- ชาวญี่ปุ่นเข้ามาทำงานในไทยโดยมีสัญญายืมตัวเป็นที่ปรึกษา
- ชาวญี่ปุ่นได้รับเงินเดือนทั้งในไทยและประเทศญี่ปุ่น
- บริษัทญี่ปุ่นจ่ายเงินได้ให้ครอบครัวที่อยู่ในญี่ปุ่นจากการเข้ามาทำงานในประเทศไทย
- บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่นจ่ายเงินเดือนให้ชาวญี่ปุ่นที่มาทำงานในไทยและเรียกเก็บคืนจากไทย
- การจ่ายค่าสิทธิ์ให้ชาวญี่ปุ่น
- ได้รับสวัสดิการทั้งตัวเองและครอบครัวจะเสียภาษีอย่างไร
- กรณีใดบ้างที่ต้องพิจารณา 180 วันเพื่อเสียภาษีในไทย
- 180 วันในปีภาษีนับอย่างไร
- อย่างไรถือว่านำเงินได้เข้ามาในประเทศไทย

8. ภาษีสรรพากรกับอนุสัญญาภาษีซ้อนไทยกับญี่ปุ่นและการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน DTA ประกอบกับความตกลงพหุภาคี MLI
- การนำอนุสัญญาภาษีซ้อนมาใช้กับบริษัทญี่ปุ่นและคนชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาทำงานในไทย
- เมื่อใดที่ต้องใช้อนุสัญญาพหุภาคี MLI
- ประเภทเงินได้ที่ต้องถูกหักภาษี
- อัตราการหักภาษีณ ที่จ่าย

9. ความแตกต่างของภาษีซ้อนระหว่างไทย-ญี่ปุ่นและประเทศอื่นๆ ในสาระสำคัญ

10. สิทธิเก็บภาษีเงินได้ตามอนุสัญญาระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น
- สิทธิประโยชน์สำหรับบุคคลธรรมดาซึ่งมิใช่ผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน

11. การขจัดภาษีให้กับนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของประเทศญี่ปุ่นภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยการเก็บภาษีซ้อน

12. วิธีการเครดิตภาษีและหลักฐานที่ใช้เครดิตภาษี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร.

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากร

สถานที่

โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ (ฝั่งตึกฮอลิเดย์ อินน์)
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี
เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ :
02-656-0444
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba