การจ่ายค่าจ้างและสวัสดิการ ที่ถูกต้องตามกฎหมายและไม่แพ้คดี ถ้าถูกฟ้องร้อง

รหัสหลักสูตร : 21/03471P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

 

การจ่ายค่าจ้างและสวัสดิการ ที่ถูกต้องตามกฎหมายและไม่แพ้คดี

ถ้าถูกฟ้องร้อง

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
 

บรรยายโดย อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

หัวข้อสัมมนา

1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับค่าจ้าง

  • ความหมายของค่าจ้าง
  • องค์ประกอบสำคัญของ “ค่าจ้าง”
  • ค่าจ้างที่เป็นฐานในการคิดคำนวณ เงินประเภทต่างๆ

2. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ค่าตอบแทน สวัสดิการ และผลประโยชน์อื่นๆ

  • ความหมายของค่าตอบแทน
  • ความหมายของสวัสดิการ และผลประโยชน์อื่นๆ 
  • ค่าเดินทาง ค่าน้ำมัน ค่าสึกหรอ จัดเป็นสวัสดิกรหรือไม่ 

3. การเขียนข้อตกลงการจ้างงานจะเขียนอย่างไร ไม่ให้มีปัญหาค่าจ้าง 

  • การป้องกันไม่ให้สวัสดิการกลายเป็นค่าจ้าง

4. ความแตกต่างระหว่าง “ค่าจ้าง” และ “สวัสดิการ” และผลกระทบที่เกิดขึ้น

  • อะไรเป็นค่าจ้าง  อะไรเป็นสวัสดิการ อะไรเป็นผลประโยชน์ อื่นๆ ?
  • กรณีเป็นค่าจ้าง จะต้องพิจารณาอย่างไร ? หากพิจารณาผิดพลาดอาจส่งผลเสียหาย
    แก่องค์กร์อย่างมหาศาล
  • “สวัสดิการ” ที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน

5. ตัวอย่างการคำนวณ : ค่าจ้าง ที่ทำให้เกิดความเสียหายมหาศาล ในจำนวนเงินหลักล้าน
จะคำนวณอย่างไร ?

6. ตัวอย่างแนวคำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับ ค่าจ้าง และ สวัสดิการ ที่ศาลตัดสินว่าเป็น”ค่าจ้าง”
หรือไม่ใช่ ”ค่าจ้าง” 

  • เงินค่าคอมมิชชั่น
  • ค่าน้ำมันรถ ค่าโทรศัพท์
  • ค่าวิชาชีพ
  • ค่าครองชีพเหมาจ่ายรายเดือน
  • ฯลฯ

7. ประเด็นสำคัญ...ในการพิจารณา ค่าตอบแทน สวัสดิการ และประโยชน์อื่นๆที่ลูกจ้างคิดว่าเป็น “ค่าจ้าง” อาจส่งผลกระทบที่จะทำให้นายจ้างเกิดความเสียหาย เมื่อจะต้องคำนวณเงินเพิ่มในกรณีต่างๆ 

  • ค่าล่วงเวลา
  • ค่าทำงานในวันหยุด
  • ค่าบอกกล่าวล่วงหน้า
  • ค่าชดเชย
  • เงินสมทบประกันสังคม ฯลฯ

8. ลูกจ้าง ประเภทต่างๆ มีความเกี่ยวข้องกับ ค่าจ้าง และ สวัสดิการอย่างไร?

  • ลูกจ้างประจำ
  • ลูกจ้างรายวัน
  • ลูกจ้างตามผลงาน
  • ลูกจ้างทดลองงาน
  • ลูกจ้างเกษียณอายุ 
  • ลูกจ้างตามสัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา

9. เทคนิคและวิธีการคำนวณ กรณีมีการปรับขึ้นค่าจ้างของพนักงาน

  • การปรับขึ้นค่าจ้างมีผลต่อนายจ้างอย่างไร?
  • วิธีการคำนวณการปรับค่าจ้างขั้นต่ำ
  • วิธีการปรับค่าจ้างประจำปี
  • เกณฑ์พิจารณาการปรับขึ้นค่าจ้าง

10. คดีความและการฟ้องร้อง ที่เกี่ยวข้องกับ “ค่าจ้าง”

  • สิทธิในการเรียกร้องของลูกจ้างเมื่อมีการเลิกจ้าง หรือฟ้องร้องคดี
  • ข้อต่อสู้คดีค่าจ้างและสวัสดิการ จากประสบการณ์การทำงานจริง
  • ตัวอย่าง : การเขียนสวัสดิการอย่างไร? ไม่ให้เป็นค่าจ้าง เพื่อป้องกันการฟ้องร้องคดี

11. เทคนิค..การป้องกันความเสียหาย ไม่ให้แพ้คดีต้องทำอย่างไร ?

  • กรณีที่ลูกจ้างฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกับนายจ้าง มีกรณีใดบ้าง
  • วิธีการรับมือของนายจ้าง เมื่อเกิดการฟ้องร้อง
  • แนวทางการป้องกันของนายจ้าง ที่ควรทำเพื่อไม่ให้เกิดการฟ้องร้อง

12. บทลงโทษ : ทั้งจำ ทั้งปรับ และจ่ายเงินเพิ่มพร้อมดอกเบี้ย

  • กรณีจงใจไม่จ่าย จะต้องจำคุกและจ่ายค่าปรับ จำนวนเท่าไหร่ 
  • อัตราดอกเบี้ย จำนวนเท่าไหร่
  • ลูกจ้างมีสิทธิในการฟ้องเงินเพิ่มย้อนหลังได้กี่ปี

13. ถาม-ตอบและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ เพลินจิต
566 ถ.เพลินจิต แขวง ลุมพินี เขต ปทุมวัน กทม.
โทรศัพท์ :
02 2305 6000
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba