• พระราชกําหนดบริหารจัดการการทํางานของคนต่างด้าว พ.ศ.2560 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 ครอบคลุมทั้งคนต่างด้าวมีฝีมือและไร้ฝีมือ
การขอวีซ่า VISA เข้ามาในราชอาณาจักร
•การอนุญาตให้คนต่างด้าวบางจำพวกเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ ฯ
•การอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาทำงานในราชอาณาจักร ได้รับยกเว้น ไม่จำเป็นต้องปฏิบัติตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว
• ประเภทของ VISA มีกี่ประเภท อะไรบ้าง? สำหรับคนต่างด้าวลักษณะใด?
การขอใบอนุญาตทํางานคนต่างด้าว WORK PERMIT
พระราชกําหนดบริหารจัดการการทํางานของคนต่างด้าว (ครอบคลุมทั้งคนต่างด้าวมีฝีมือและไร้ฝีมือ)
•หลักเกณฑ์สําคัญที่ต้องดําเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมายใหม่
•กําหนดงานอันจําเป็นและเร่งด่วน มีหลักเกณฑ์อย่างไร? ระยะเวลาทำงานกี่วัน
•บทลงโทษ! สําหรับผู้ที่ทําผิดพระราชกําหนดการบริหารจัดการการทํางานของคนต่างด้าว
วิทยากรโดย พ.ต.อ.หญิง นัฐวินุศ หัสดินทร ณ อยุธยา และอาจารย์สุนทรี วิลาทอง
หัวข้อสัมมนา
หัวข้อสัมมนา VISA
1. SMART VISA บังคับใช้ 1 กุมภาพันธ์ 2561 • คนต่างด้าวประเภทใด? มีสิทธิขออนุญาตเข้ามาอยู่ในราช อาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ • ระยะเวลาที่สามารถอยู่ได้กี่ปีโดยไม่ต้องตรวจลงตรา • อัตราค่าธรรมเนียม จำนวนเท่าไหร่? 2. สาระสำคัญและหลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 และ ระเบียบคำสั่งที่เกี่ยวข้อง 3. ตัวอย่างหนังสือเดินทางที่ใช้ในปัจจุบัน 4. วีซ่าประเภทของคนอยู่ชั่วคราว (NON Immigrant VISA) มีกี่ประเภทอะไรบ้าง 5. ตัวอย่างตราประทับหนังสือเดินทางในหนังสือเดินทาง 6. คำขอเปลี่ยนแปลงประเภทการตรวจลงตรา ตม.86 7. แบบการแจ้งอยู่เกินกว่า 90 วันของบุคคลต่างด้าวตม.47 8. รายชื่อประเทศที่สามารถยื่นแบบคำขอรับการตรวจลงตรา ประเภท Visa on Arrival (TR-15) 9. พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองประทับตราอนุญาต ให้อยู่ได้ 30 วัน (ผ.30) 10. ประเทศที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องขอรับการตรวจจากสถานทูต ไทย ประทับตราอนุญาตให้อยู่ได้ 90 วัน มีกี่ประเภท 11.การตรวจลงตรา VISA มี 9 ประเภทอะไรบ้าง 12.หน้าที่ของคนต่างด้าวในการดำเนินการขออนุญาต จะต้องดำเนินการอะไรบ้าง 13.หลักเกณฑ์ในการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร มีหลักเกณฑ์ และเอกสารหลักฐานแบบฟอร์ม อะไรบ้าง • ประกอบธุรกิจ • ปฏิบัติงาน • ผู้ติดตาม (บุตร ภรรยา สามีบิดา มารดา) • ใช้ชีวิตบั้นปลาย • ศึกษาในสถานศึกษา ฯลฯ 14.อัตราค่าธรรมเนียม สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง Immigrant Current Fees ที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง 15.การขอ Re-Entry Permit ปัญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นกรณี ต่างๆ หรือการเดินทางออกนอกประเทศชั่วคราว 16.คำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ 327/2557 เรื่องหลัก เกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณากรณีคนต่างด้าว ขออนุญาตอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว • กรณีเพื่อการลงทุน ให้อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปี • กรณีการลงทุนไม่น้อยกว่า 3 ล้าน • กรณีลงทุน ไม่น้อยกว่า 10 ล้าน • กรณีเพื่อการท่องเที่ยว อนุญาตครั้งละไม่เกินกี่วัน แต่รวม แล้วไม่เกินกี่วัน นับแต่วันที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร มีหลักเกณฑ์การพิจารณาอย่างไร • กรณีเป็น ครู / อาจารย์ / ผู้เชี่ยวชาญในสถานศึกษาของรัฐ หรือเอกชน ให้อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปี • กรณีใช้ชีวิตในบั้นปลาย อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปีและมีหลัก เกณฑ์การพิจารณาอย่างไร
หัวข้อสัมมนา Workpermit
1.การเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของพระราชกำหนดการ บริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 2. การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในประเทศไทย มีหลักเกณฑ์อย่างไร? 3. งานประเภทใดบ้าง? ที่กำหนดให้เป็นงานที่คนต่างด้าว “ห้ามทำ” มีหลักเกณฑ์พิจารณาอย่างไร? 4. หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการนำคนต่างด้าวเข้ามา ทำงานในประเทศ จะต้องปฏิบัติอย่างไร? 5. เอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาขอรับใบอนุญาต ทำงานของ นายจ้างและคนต่างด้าว • แบบ บต.๑ ใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้าง ในประเทศ 6. ขั้นตอนในการขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) เอกสาร หลักฐานแบบฟอร์มต่างๆ ค่าธรรมเนียมและ ใบมอบอำนาจ ทำการแทนที่ปฏิบัติต่อคนต่างด้าวเข้า หรือเข้ามาใน ประเทศไทยแล้ว 7. คุณสมบัติของคนต่างด้าวที่จะขอใบอนุญาตทำงาน ตามหลัก เกณฑ์ใหม่ 2560 8. อัตราค่าธรรมเนียม ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จะต้องใช้อัตรา อย่างไร? 9. ประเด็นสำคัญ...ในการรับคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน ในสถาน ประกอบการของนายจ้าง และบทลงโทษกรณีฝ่าฝืน จะต้อง รับโทษอย่างไร? และอัตราเท่าไหร่? (โทษปรับ โทษจำคุก) ในประเด็นใดบ้าง? • การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวมาทำงาน โดยไม่ได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดีฯ • การรายงานการนำคนต่างด้าวมาทำงาน กับนายจ้างต่อ อธิบดีกรมการจัดหางาน • ลูกจ้าง คนงาน ทำงานตามบ้าน สำนักงานต่างๆ • การรับคนต่างด้าวทำงานที่ห้ามคนต่างด้าวทำ • รับคนต่างด้าวที่ไม่มีใบอนุญาตทำงาน • รับคนต่างด้าวทำงานไม่ตรงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต • คนต่างด้าวที่ทำงานจำเป็นและเร่งด่วนแต่ไม่แจ้ง นายทะเบียน • คนต่างด้าวทำงานแตกต่างจากที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต • ผู้ใดที่ยึดใบอนุญาตทำงานหรือเอกสารสำคัญประจำตัว คนต่างด้าว • ผู้ใดหลอกลวงผู้อื่นว่าสามารถนำคนต่างด้าวมาทำงานกับ นายจ้างในประเทศ 10.ถาม-ตอบปัญหา
|