การตรวจสอบรายการทางบัญชี-การเงิน เพื่อป้องกันและจัดการการทุจริตในองค์กร

รหัสหลักสูตร : 21/2930

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



การตรวจสอบรายการทางบัญชี-การเงิน เพื่อป้องกันและจัดการการทุจริตในองค์กร

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 6 ชม.

 

• การตรวจสอบการบันทึกบัญชีจะเห็นความผิดปกติอะไรบ้างที่ต้องรีบดำเนินการ
• การกระทบยอดรายได้-รายจ่าย เงินสด ลูกหนี้
• ข้อสังเกตในการปิดงบสิ้นปีและการปิดงบรายเดือน เพื่อตรวจสอบและป้องกันการทุจริต

วิทยากรโดย ดร.สมชาย เลิศภิรมย์สุข

หัวข้อสัมมนา

1.หลักการของการจัดการการทุจริตในองค์กร
  1.1 Fraud Triangle: สาเหตุของการฉ้อโกงรายการทางบัญชี-การเงิน ในบริษัท
  1.2 ประเภทของการตรวจสอบการบันทึกบัญชี ความผิดปกติที่มักพบและต้องรีบดำเนินการ
     - คอร์รัปชั่น
     - การยักยอกทรัพย์สิน
     - การตกแต่งงบการเงิน
  1.3 ความเสี่ยง ข้อสังเกต และวิธีการปกปิดร่องรอยรายการทางบัญชี-การเงิน
  1.4 ลักษณะที่บ่งชี้ว่ามีการทุจริตเกิดขึ้นในองค์กร
  1.5 การจัดการและแนวทางป้องกันการทุจริตในองค์กร

2.วิธีการตรวจสอบรายการทางบัญชี-การเงิน เพื่อป้องกันและจัดการการทุจริตในองค์กร
  2.1 การตรวจสอบการบันทึกบัญชี ความผิดปกติที่มักพบและต้องรีบดำเนินการ
  2.2 การตรวจสอบเงินทดรองจ่าย เพื่อป้องกันการทุจริต
  2.3 การบันทึก “บัญชีพัก” จุดอันตรายที่ต้องระวัง
  2.4 การกระทบยอดรายได้-รายจ่าย เงินสด ลูกหนี้ เจ้าหนี้ และธนาคาร
     - การทุจริตที่เกิดขึ้นจากผลการไม่กระทบยอดทางบัญชี
     - กระทบยอดแล้วมีความผิดปกติ
     - การตรวจสอบ Statement กับ GL
     - การกระทบยอด Statement ธนาคาร

3. ข้อสังเกตในการปิดงบสิ้นปีและการปิดงบรายเดือน เพื่อตรวจสอบและป้องกันการทุจริต

4. วิธีการแนบเอกสารทางการเงินเพื่อง่ายต่อการบันทึกบัญชี และการตรวจสอบ
  - การแยกหน้าที่ คนจ่ายเงิน (Cash control) คนดูแลทรัพย์สิน (Operation) คนอนุมัติ เพื่อการควบคุมที่ได้ผล
  - การวางระบบตรวจสอบ (Approval) กับ การบันทึก (Recording) เพื่อป้องกันการทุจริต

5.การตรวจหาทุจริตในงบการเงิน (Detecting Fraud in Financial Reporting)
  - การตกแต่งตัวเลขในรายงานทางการเงิน (Fraudulent Statements)
  - บันทึกสินทรัพย์หรือรายรับมากเกินไปหรือน้อยเกินไป (Overstate or Understate)
  - บันทึกบัญชีต่างงวด
  - บันทึกรายรับปลอม,ปกปิดหนี้สิน / สร้างรายจ่ายเท็จ
  - เปิดเผยในหมายเหตุไม่ครบถ้วน ปกปิดตัวเลขสำคัญ
  - ประเมินสินทรัพย์ไม่ถูกต้องโดยเจตนาทุจริต

6. Case studyการทุจริตที่พบจากการปฏิบัติงานบัญชี-การเงิน พร้อมวิธีจัดการ
  - นำใบ Pay in เก่ามาใช้และเจาะวันที่ในใบ Pay in เพื่อไม่ให้ตรวจสอบได้
  - การยักยอกเงินสดที่มีการบันทึกรายการทางบัญชีแล้ว
  - การยักยอกจากการเบิกจ่ายเงินสด (Fraudulent Disbursement)
  - การตรวจสอบรายการเงินสดที่ต้องนำเข้าบริษัทในแต่ละวัน
  - ไม่บันทึกรายการขาย หรือบันทึกแต่บันทึกต่ำกว่าที่เป็นจริงแล้วยักยอกเงิน
  - รับเงินสดแต่ไม่บันทึกรับ เพื่อหักรายการลูกหนี้
  - ตัดหนี้สูญ ลูกหนี้ค้างจ่าย โดยไม่มีการติดตามลูกหนี้
  - ไม่มีการต่อรองราคา เพื่อหวังค่าส่วนแบ่งจากผู้ขาย
  - จ่ายเงินให้พนักงานหรือบุคคลภายนอกที่ไม่มีการจ้างงานหรือซื้อสินค้าหรือให้บริการ
  - ปลอมแปลงเอกสารเพื่อเบิกค่าใช้จ่ายให้มากกว่าที่เป็นจริงการจ่ายเงินให้กับผู้ที่ไม่มีตัวตน
  - บันทึกรายการค่าใช้จ่ายเกินจริง
  - นำบุคคลใกล้ชิดมารับงาน และสั่งซื้อสั่งจ้างในราคาสูง
  - ปลอมลายเซ็นผู้อนุมัติโดยไม่มีอำนาจ

7.เทคนิควิธีการป้องกันการทุจริตที่ได้ผลสำหรับงานบัญชี

8. การชดใช้ การเขียนสัญญาหรือข้อตกลงระหว่างบริษัทกับพนักงานและการดำเนินคดีทั้งทางแพ่ง ทางอาญา

9. การบริหารความเสี่ยงงานบัญชี เรื่องการทุจริตในองค์กร

10. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ ฟอร์จูน กรุงเทพฯ
เลขที่ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10400
โทรศัพท์ :
02-6411500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba