การขอ VISA เข้ามาในราชอาณาจักร ใบอนุญาตทำงานคนต่างด้าว
ในประเทศไทย Work Permit
วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้าน VISA & WORK PERMIT
หัวข้อสัมมนา
หัวข้อสัมมนา VISA
1. สาระสำคัญและหลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 และ ระเบียบคำสั่งที่เกี่ยวข้อง2. ตัวอย่างหนังสือเดินทางที่ใช้ในปัจจุบัน3. วีซ่าประเภทของคนอยู่ชั่วคราว (NON Immigrant VISA) มีกี่ประเภทอะไรบ้าง4. ตัวอย่างตราประทับหนังสือเดินทางในหนังสือเดินทาง5. คำขอเปลี่ยนแปลงประเภทการตรวจลงตรา ตม.866. แบบการแจ้งอยู่เกินกว่า 90 วันของบุคคลต่างด้าวตม.477. รายชื่อประเทศที่สามารถยื่นแบบคำขอรับการตรวจลงตรา ประเภท Visa on Arrival (TR-15)8. พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองประทับตราอนุญาต ให้อยู่ได้ 30 วัน (ผ.30)9. ประเทศที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องขอรับการตรวจจากสถานทูต ไทย ประทับตราอนุญาตให้อยู่ได้ 90 วันมีกี่ประเภท10.การตรวจลงตรา VISA มี 9 ประเภทอะไรบ้าง11.หน้าที่ของคนต่างด้าวในการดำเนินการขออนุญาต จะต้องดำเนินการอะไรบ้าง12.หลักเกณฑ์ในการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร มีหลักเกณฑ์ และเอกสารหลักฐานแบบฟอร์ม อะไรบ้าง • ประกอบธุรกิจ • ปฏิบัติงาน • ผู้ติดตาม (บุตร ภรรยา สามีบิดา มารดา) • ใช้ชีวิตบั้นปลาย • ศึกษาในสถานศึกษา ฯลฯ13.อัตราค่าธรรมเนียม สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง Immigrant Current Fees ที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง14.การขอ Re-Entry Permit ปัญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นกรณี ต่างๆ หรือการเดินทางออกนอกประเทศชั่วคราว15.หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณากรณีคนต่างด้าว ขออนุญาตอยู่ในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราว • กรณีเพื่อการลงทุน ให้อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปี • กรณีการลงทุนไม่น้อยกว่า 3 ล้าน • กรณีลงทุน ไม่น้อยกว่า 10 ล้าน • กรณีเพื่อการท่องเที่ยว อนุญาตครั้งละไม่เกินกี่วัน แต่รวม แล้วไม่เกินกี่วัน นับแต่วันที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร มีหลักเกณฑ์การพิจารณาอย่างไร • กรณีเป็น ครู / อาจารย์ / ผู้เชี่ยวชาญในสถานศึกษาของรัฐ หรือเอกชน ให้อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปี • กรณีใช้ชีวิตในบั้นปลาย อนุญาตต่อครั้งได้กี่ปีและมีหลัก เกณฑ์การพิจารณาอย่างไร16.ถาม - ตอบปัญหาหัวข้อสัมมนา Workpermit1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว2. การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในประเทศไทย มีหลักเกณฑ์อย่างไร?3. งานประเภทใดบ้าง? ที่กำหนดให้เป็นงานที่คนต่างด้าว “ห้ามทำ” มีหลักเกณฑ์พิจารณาอย่างไร?4. หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการนำคนต่างด้าวเข้ามา ทำงานในประเทศ จะต้องปฏิบัติอย่างไร?5. เอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาขอรับใบอนุญาต ทำงานของ นายจ้างและคนต่างด้าว • แบบ บต.๑ ใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้าง ในประเทศ6. ขั้นตอนในการขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) เอกสาร หลักฐานแบบฟอร์มต่างๆ ค่าธรรมเนียมและใบมอบอำนาจ ทำการแทนที่ปฏิบัติต่อคนต่างด้าวเข้า หรือเข้ามาในประเทศไทยแล้ว7. คุณสมบัติของคนต่างด้าวที่จะขอใบอนุญาตทำงาน ตามหลักเกณฑ์ใหม่8. อัตราค่าธรรมเนียม ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จะต้องใช้อัตราอย่างไร? • ใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงาน • การต่ออายุใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงาน • การจ้างคนต่างด้าว • การต่ออายุใบอนุญาตทำงานหรือการขยายระยะเวลา9. การกําหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของนายจ้างและผู้ได้รับ ใบอนุญาตเข้ามาทำงานในประเทศไทยให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น10. การสร้างช่องทางการร้องทุกข์และการเข้าถึงช่องทางการร้องทุกข์ สำหรับคนต่างด้าว11. การกำหนดมาตรฐานในการเรียกเก็บค่าบริการและค่าใช้จ่าย ในการนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน12. การขึ้นทะเบียนตัวแทนนายจ้างและตัวแทนคนต่างด้าว13. การกำหนดมาตรการทางปกครองให้มีการประกาศรายชื่อนายจ้าง ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย14. ประเด็นสำคัญ...ในการรับคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน ในสถาน ประกอบการของนายจ้างและบทลงโทษกรณีฝ่าฝืนจะต้อง รับโทษอย่างไร? และอัตราเท่าไหร่? (โทษปรับ โทษจำคุก)ในประเด็นใดบ้าง? • การประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวมาทำงาน โดยไม่ได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดีฯ • การรายงานการนำคนต่างด้าวมาทำงาน กับนายจ้างต่อ อธิบดีกรมการจัดหางาน • ลูกจ้าง คนงาน ทำงานตามบ้าน สำนักงานต่างๆ • การรับคนต่างด้าวทำงานที่ห้ามคนต่างด้าวทำ • รับคนต่างด้าวที่ไม่มีใบอนุญาตทำงาน • รับคนต่างด้าวทำงานไม่ตรงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต15.ถาม-ตอบปัญหา
รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพระราม 9 ทางออกที่ 1