กฎหมายคุ้มครองแรงงาน 24 มาตรา ที่ฝ่ายบุคคลต้องไม่พลาด

รหัสหลักสูตร : 21/3424

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,638 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,387 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

Update !!! พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่บังคับใช้ 1 กันยายน 2560
  • 24 มาตราอะไรบ้าง? ทำความเข้าใจแต่ละมาตราอย่างถ่องแท้สำหรับการบริหารงานบุคคลในองค์กร
  • Update!!! กฎหมายคุ้มครองแรงงานที่มีการเปลี่ยนแปลงในปี 2560
  • ประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายบริหารงานบุคคลในองค์กร
  • แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
    - เวลาทำงานปกติ - ชั่วโมงการทำงาน
    - เวลาพัก - เวลาประเภทต่างๆ ฯลฯ
หัวข้อสัมมนา

1. กฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง และฝ่ายบุคคลในองค์กรต้องทราบ สิทธิหน้าที่ของนายจ้าง ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
  • กรณีนายจ้างเป็นนิติบุคคล
  • กรณีการจ้างเหมาแรงงาน
  • กรณีการจ้างทำของ
2.การประกันการทำงานที่ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน
  • มาตรา 9 กรณีนายจ้างจ่ายดอกเบี้ยและเงินเพิ่ม
  • มาตรา 10 การเรียกหรือรับหลักประกันการทำงาน
3.กฎหมายคุ้มครองแรงงานหญิง มีความหมายและข้อกำหนดในการจ้างงานอย่างไร มีบทกำหนดโทษ สำหรับนายจ้าง หรือไม่
ประเด็นเกี่ยวกับการทดลองงาน ที่นายจ้างต้องทราบ
  • ในช่วงของการทดลองงาน
  • กรณีทดลองงานไม่ผ่าน
4.การกำหนดวัน เวลา ทำงาน (Working Times) มีหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องตามกฎหมายแรงงานอย่างไร
  • มาตรา 27 เวลาพัก
  • มาตรา 23 เวลาทำงานปกติและชั่วโมงทำงานปกติ
5.จุดบอด...ที่มักเกิดความเข้าใจผิด เกี่ยวกับ วันหยุด (Holidays) วันลา (Leave for Absence)
  • มาตรา 25 การทำงานในวันหยุด
  • มาตรา 29 วันหยุดตามประเพณี
6.ปัญหาที่เกิดจาก ความไม่รู้ไม่เข้าใจ ความเคยชินเกี่ยวกับ ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ทำให้เกิดการฟ้องร้องคดีแรงงาน การจ่ายค่าจ้าง
ค่าตอบแทน ค่าจ้างขั้นต่ำกรณีต่างๆ (กรณีเป็นลูกจ้างรายวัน ลูกจ้างช่วงทดลองงาน)
  • หลักเกณฑ์ของค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลา ค่าพาหนะเดินทาง
    ค่าจ้างในเวลาพัก ค่าทำงานเกินเวลา ค่าจ้างในวันหยุด เช่น วันหยุดประจำสัปดาห์วันหยุดตามประเพณี
7.การจ้าง สภาพการจ้างและสภาพการทำงาน
  • จำนวนลูกจ้างเท่าไร?
  • กรณีมีการเปลี่ยนแปลงต้องแจ้งยื่นเมื่อไหร่?
8.การสิ้นสุดสัญญาจ้าง
  • สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
  • การเลิกจ้างที่ต้องจ่ายค่าชดเชยและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
  • กรณีที่กฎหมายห้ามเลิกจ้างและเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
  • กรณีที่บริษัทหยุดกิจการ หยุดกิจการชั่วคราว นายจ้างมีภาระหน้าที่อย่างไรกับลูกจ้าง
มาตรา 17 การบอกกล่าวล่วงหน้า (กรณีสัญญาจ้างสิ้นสุดลง)
มาตรา 19 การคำนวณระยะเวลาการทำงานของลูกจ้าง
มาตรา 20 การนับระยะเวลาทำงาน
มาตรา 24 ข้อกำหนดห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน การทำงานล่วงเวลา
มาตรา 26 ชั่วโมงการทำงานล่วงเวลาต้องไม่เกินตามกฎหมายกำหนด
มาตรา 27 เวลาพัก
มาตรา 28 นายจ้างต้องจัดให้มีวันหยุดประจำสัปดาห์
มาตรา 32 วันลาป่วย
มาตรา 34 วันลากิจ
มาตรา 35 วันลารับราชการทหาร
มาตรา 36 วันลาฝึกอบรม
มาตรา 38 งานที่ห้ามลูกจ้างหญิงทำ
มาตรา 42 และมาตรา 43 การคุ้มครองหญิงมีครรภ์
มาตรา 44 และมาตรา 45 การใช้แรงงานเด็ก และมาตรา 49 งานที่ห้ามลูกจ้างเด็กทำ
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์อนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ เพลินจิต
566 ถ.เพลินจิต แขวง ลุมพินี เขต ปทุมวัน กทม.
โทรศัพท์ :
02 2305 6000
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba