หลักสูตร
กฎหมายแรงงาน ฉบับใหม่
หัวข้อสัมมนา
Update! อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ (ฉบับที่ 8 ) 19 อาชีพ มีผลบังคับใช้ 1 ม.ค. 2562
Update การเปลี่ยนแปลงล่าสุด...กฎหมายคุ้มครองแรงงาน บังคับใช้ 2562
1. ประเด็นอัตราค่าชดเชย อัตราใหม่ มีหลักเกณฑ์อย่างไร?
- เพิ่มจาก 5 อัตรา เป็น 6 อัตรา มีรายละเอียดอย่างไร?
- ค่าชดเชย ลูกจ้างจะได้รับในกรณีใดบ้าง?
2. ประเด็นลากิจธุระจำเป็น
- ลูกจ้างสามารถลากิจธุระจำเป็นได้กี่วันต่อปี
- นายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้างให้กับลูกจ้างหรือไม่
3. ประเด็นวันลาลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด
- เพิ่มจำนวนวันลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด ได้กี่วัน จะต้องจ่ายค่าจ้างอย่างไร?
- จะต้องจ่ายค่าจ้างให้กับลูกจ้างอย่างไร?
- จำนวนวันที่เพิ่ม มาได้อย่างไร?
4. ประเด็นนายจ้างมีการเปลี่ยนตัว เปลี่ยนนิติบุคคล
- จะต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างหรือไม่
- กรณีพ่อยกบริษัทให้ลูกบริหาร จะต้องได้รับการยินยอมหรือไม่
- กรณีลูกจ้างไม่ยินยอม ลูกจ้างจะได้รับค่าชดเชยตามกฎหมายฉบับใหม่หรือไม่
5. ประเด็นกรณีการย้ายสถานประกอบการ
- กรณีไม่ย้ายตาม จะได้รับค่าชดเชยหรือไม่
- การย้ายสถานประกอบการ มีกรณีใดบ้าง
6. ประเด็นกรณีค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนคืออะไร? จะต้องจ่ายอย่างไร?
- กรณีอัตราดอกเบี้ยใหม่ อัตราเท่าไหร่? เมื่อลูกจ้างฟ้องร้อง
7. ประเด็นสิทธิเท่าเทียมระหว่างชายหญิง
- สิทธิใดบ้าง? ที่นายจ้างจะต้องทราบ กฎหมายคุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานบุคคล
8. ประเด็นการเกษียณอายุ จะต้องมีหลักเกณฑ์อะไรบ้าง และอัตราค่าชดเชยฉบับใหม่
9. ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ที่นายจ้างและฝ่าย HR ต้องทราบและเข้าใจอย่างถ่องแท้
10.ประเด็นปัญหาค่าจ้าง ค่าตอบแทน ผลกระทบกับกฎหมายฉบับใหม่
11.การกำหนดเวลาทำงานจะต้องใช้หลักเกณฑ์ใด สำหรับยุค 4.0
12.ประเภทของวันหยุด วันลา มีหลักเกณฑ์อย่างไร?
13.การจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชยและวิธีคำนวณถูกต้อง
Update…คําพิพากษาฎีกาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน HR และเกิดการฟ้องร้องทางด้านคดี ถาม-ตอบ ปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น